Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43915
Title: MOISTURE BEHAVIOR IN GRANULAR BASE LAYER OF ASPHALT PAVEMENT
Other Titles: พฤติกรรมของความชื้นในชั้นพื้นทางหินคลุกของผิวทางแอสฟัลต์
Authors: Reynaldo
Advisors: Boonchai Sangpetngam
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Engineering
Advisor's Email: bsangpetngam@gmail.com
Subjects: Road -- Design and construction
Soil moisture
ทางหลวง -- การออกแบบและการสร้าง
ความชื้นในดิน
Issue Date: 2013
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Moisture is one of the influential factors of an asphalt pavement structural condition generally, and base layer specifically. Having that said, having an adequate record of moisture condition data may prevent unwanted damage in the future. At the moment, in Thailand a proper field moisture measurement and time-series data are still unknown. Therefore, in this study moisture sensor (Thetaprobe) is installed in an unbound base layer of road section to monitor the moisture fluctuation all day for a long period. It was found that fluctuation of volumetric moisture content inside base layer apparently follows a systematic pattern that is similar to sinusoidal pattern. The pattern was confirmed by additional observations on two other sites with the same asphalt pavement structure. Fitting results shows the average period of the fluctuation is 1290 minutes (21 hour), and amplitude of the moisture reading is not consistent, which implies different fluctuation every day. The systematic pattern helps simplify time of field measurement to obtain average volumetric moisture content of the day into two times. Deep cracking effect was found on the moisture behavior to be related to leap of change and faster draining process. Temperature was suspected to have effect on Thetaprobe reading, but later considered to be negligible.
Other Abstract: ข้อมูลจากการศึกษาด้านวิศวกรรมงานทางทั้งในประเทศและต่างประเทศพบว่า ความชื้น (ในรูปของฝน การระบายน้ำ และความชื้นในวัสดุงานทาง) เป็นปัจจัยหนึ่งที่เป็นสาเหตุหลักของความเสียหายแก่โครงสร้างชั้นทาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งโครงสร้างชั้นพื้นทาง (Base Layer) ดังนั้นการตรวจวัดและบันทึกข้อมูลความชื้นในโครงสร้างชั้นทางจึงมีความสำคัญในการออกแบบโครงสร้างชั้นทาง เพื่อป้องกันความเสียหายที่จะเกิดแก่โครงสร้างชั้นทางในอนาคต ซึ่งปัจจุบันประเทศไทยยังไม่มีการตรวจวัดความชื้นในสนามและการจัดเก็บข้อมูลความชื้นที่มีสมบูรณ์เพียงพอต่อการนำไปใช้งาน นอกจากนั้นแล้วยังไม่ทราบถึงลักษณะของความชื้นที่เปลี่ยนแปลงไปตามช่วงเวลาเช่นกัน งานวิจัยนี้จึงศึกษาลักษณะการเปลี่ยนแปลงความความชื้นในชั้นพื้นทางในแต่ละช่วงเวลา โดยติดตั้งอุปกรณ์ตรวจวัดค่าความชื้น (Thetaprobe) ในชั้นพื้นทางที่ก่อสร้างด้วยหินคลุกแบบไม่เชื่อมแน่น ซึ่งเป็นรูปแบบที่พบได้มากที่สุดของถนนในประเทศไทย และบันทึกค่าความชื้นทุก 15 นาทีในแต่ละช่วงเวลาตลอดทั้งวัน ด้วยอุปกรณ์บันทึกค่า (Data Logger) ผลการศึกษาพบว่าความชื้นภายในชั้นพื้นทางมีการเปลี่ยนแปลงอย่างเป็นระบบในลักษณะของกราฟซายน์ (Sinusoidal) ซึ่งยืนยันลักษณะการเปลี่ยนแปลงได้จากข้อมูลที่บันทึกได้จากอุปกรณ์ชุดเดียวกันที่ติดตั้งที่ถนนสายทางอื่นอีก 2 สายทาง ที่มีลักษณะโครงสร้างชั้นทางเช่นเดียวกับตำแหน่งแรกที่บันทึกข้อมูล ซึ่งมีลักษณะการเปลี่ยนแปลงของความชื้นในลักษณะกราฟซายน์เช่นกัน จากการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่าค่าเฉลี่ยของคาบการเปลี่ยนแปลง (Period) คือ 1290 นาที (21 ชั่วโมง) แอมพลิจูด (Amplitude) ของความชื้นที่เปลี่ยนแปลงไปไม่คงที่ในแต่ละรอบของการเปลี่ยนแปลง โดยมีค่าอยู่ในช่วง 0. 1 – 0.3% ซึ่งลักษณะของการเปลี่ยนแปลงที่เป็นระบบนี้มีประโยชน์ในการประมาณเวลาสำหรับการตรวจวัดและบันทึกข้อมูลในสนาม โดยสามารถตรวจวัดปริมาณความชื้นในชั้นพื้นทางซึ่งจะได้ค่าในช่วงที่เป็นค่าเฉลี่ยของวันได้ใน 2 ช่วงเวลา นอกจากนั้นยังตรวจพบว่าการแตกร้าวของผิวทางยังส่งผลต่อพฤติกรรมการเปลี่ยนแปลงของความชื้นในชั้นพื้นทาง ซึ่งค่าความชื้นที่ตรวจวัดได้จะเปลี่ยนแปลงเพิ่มและลดลงด้วยแอมพลิจูดที่สูงมากและรวดเร็ว อย่างไรก็ตามอุณหภูมิอาจจะส่งผลต่อการตรวจวัดค่าของ Thetaprobe แต่จากการทดสอบและงานศึกษาในต่างประเทศพบว่าอุณหภูมิไม่มีนัยสำคัญต่อการเปลี่ยนแปลงของค่าที่ตรวจวัดได้จาก Thetaprobe แต่อย่างใด
Description: Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2013
Degree Name: Master of Engineering
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Civil Engineering
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43915
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2013.1361
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2013.1361
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5570530621.pdf5.08 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.