Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49132
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุทธิชัย นรนิตชัยกุล | - |
dc.contributor.advisor | ลิสา เรืองแป้น | - |
dc.contributor.author | สมลักษณ์ คันธะพฤกษ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2016-06-12T23:55:59Z | - |
dc.date.available | 2016-06-12T23:55:59Z | - |
dc.date.issued | 2526 | - |
dc.identifier.isbn | 9745617792 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49132 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2526 | en_US |
dc.description.abstract | ทำการศึกษาวงชีวิตของซูโอแทมเนียมและสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ในบ่อเพาะลูกกุ้งกุลาดำที่มีซูโอแทมเนียมระบาด โดยทำการศึกษาที่สถานีประมงจังหวัดระยองพบว่าซูโอแทมเนียมที่แพร่กระจายในบ่อเพาะลูกกุ้งกุลาดำนั้นติดมากับเปลือกไรน้ำเค็มแล้วเจริญเป็นโคโลนี เมื่อโคโลนีของซูโอแทมเนียมเจริญเต็มที่จะสร้างซิลิโอสปอร์ซึ่งเป็นเซลสืบพันธุ์แบบไม่ใช้เพศ พบอยู่ทั่วไปในบ่อเพาะลูกกุ้งกุลาดำ การสร้างซิลิโอสปอร์นี้ใช้เวลาประมาณ 1-2 ชั่วโมง หลังจากนั้นเซลซิลิโอสปอร์จะหลุดออกจากโคโลนีว่ายน้ำเป็นอิสระเป็นเวลานานหลายชั่วโมง แล้วลงเกาะตะกอนที่อยู่พื้นบ่อหรือเกาะลูกกุ้งกุลาดำ โดยเกาะรยางค์ ก้านตา แพนหาง และส่วนต่าง ๆ ของลูกกุ้ง ในขณะที่ซูโอแทมเนียมแพร่กระจายมากในบ่อเพาะลูกกุ้งกุลาดำนั้นอยู่ในช่วงระหว่างต้นฤดูฝนเดือนพฤษภาคมถึงเดือนมิถุนายน อุณหภูมิของน้ำในบ่อเพาะลูกกุ้งกุลาดำซึ่งอาจต่ำถึง 24 องศาเซลเซียส เหมาะกับการเจริญเติบโตของซูโอแทมเนียม ในขณะเดียวกันนั้นถ้าบ่อเพาะลูกกุ้งกุลาดำสกปรกมีเศษตะกอนและเศษอาหารมาก ซูโอแทมเนียมจะแพร่กระจายได้อย่างรวดเร็ว ส่วนการศึกษาการป้องกันและกำจัดซูโอแทมเนียมโดยใช้ด่างทับทิม จุนสีและฟอร์มาลิน ในเวลา 6, 12 และ 24ชั่วโมง พบว่าฟอร์มาลินที่ระดับความเข้มข้น 30-40 ส่วนในน้ำล้านส่วน สามารถกำจัดซูโฮแทมเนียออกจากลูกกุ้งได้หมดภายใน 24 ชั่วโมง โดยไม่เป็นพิษต่อลูกกุ้งกุลาดำเลย การป้องกันควรใช้วิธีใช้ฟอร์มาลินเข้มข้น 40 ส่วนในน้ำล้านส่วน แช่ตัวอ่อนไรน้ำเค็ม 12 ชั่วโมง ก่อนที่จะให้เป็นอาหารแก่ลูกกุ้งกุลาดำ ซึ่งจะสามารถกำจัดซูโอแทมเนียมออกจากไรน้ำเค็มได้หมด ทำให้ตัวอ่อนไรน้ำเค็มไม่มีซูโอแทมเนียมเกาะและทำให้ซูโอแทมเนียมไม่สามารถแพร่กระจายไปสู่ล่อเพาะลูกกุ้งกุลาดำได้ | en_US |
dc.description.abstractalternative | Life cycle of Zoothamnium sp. in relation to their environments in Peneaus monodon (Frabricius) rearing tanks were studied at Rayong Fisheries Station. It was found that Zoothamnium sp. in the P. monodon larval rearing tanks attached with the shell of Artemia salina developed into colonies lateron. When the colonies are fully developed ciliospores type of asexual reproduction, were observed on the apex of the colonies about 1 – 2 hours, for the development of the ciliospore then they were released into the water. After being free swimming ciliospores for several hours they settled down on the substrate, surface of the particles on the ground or on the appendage eyes stalk, telson and other parts of P. monodon larvae. Zoothamnium sp. were most abundance in rainy season between May to June while the water temperature was lowered at 24.0℃. The experimental results suggested that increasing growing rate of Zoothamnium sp. varied to the dirtiness of the rearing tank. Theee chemical reagents were tested for their ability to control an outbreak of Zoothamnium sp. P. monodon larvae were exposed for 6, 12 and 24 hours to various concentrations of potassium permomganate, copper sulfate and formalin. Formalin at 30 – 40 ppm. yield completely control of Zoothamnium sp. and showed no ill effect on the shrimp larvae. Prevention the out spread of Zoothamnium sp. was succesfull tried by bathing of Artemia salina nauplii in 40 pp. formalin for 12 hours. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ซูโอแทมเนียม | en_US |
dc.subject | กุ้งกุลาดำ, การเพาะเลี้ยง | en_US |
dc.subject | ฟอร์มาลิน | en_US |
dc.title | ลักษณะทางชีววิทยาบางประการและวิธีการกำจัดซูโอแทมเนียมชนิด A (Zoothamnium sp. A.) ด้วยสารเคมีในบ่อเพาะกุ้งกุลาดำ | en_US |
dc.title.alternative | Some biological characteristics and chemical control of zoothamnium sp. A. in the larval rearing tank of Penaeus Monodon (Frabricius) | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วิทยาศาสตร์ทางทะเล | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Sutichai.N@Chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Somluck_ku_front.pdf | 12.77 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Somluck_ku_ch1.pdf | 8.6 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Somluck_ku_ch2.pdf | 11.12 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Somluck_ku_ch3.pdf | 3.12 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Somluck_ku_ch4.pdf | 9.55 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Somluck_ku_ch5.pdf | 3.62 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Somluck_ku_back.pdf | 5.19 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.