Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66162
Title: | การออกแบบการจัดสายการประกอบรถจักรยานยนต์ |
Other Titles: | Process design for motorcycle assembly line |
Authors: | บุญชนะ บรรเทือง |
Advisors: | จรูญ มหิทธาฟองกุล |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
Advisor's Email: | fiecmh@eng.chula.ac.th, Charoon.M@chula.ac.th |
Subjects: | การจัดสมดุลสายการผลิต สายการผลิต อุตสาหกรรมจักรยานยนต์ Assembly-line balancing Assembly-line methods Motorcycle industry |
Issue Date: | 2543 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | การศึกษาการออกแบบการจัดสายการประกอบรถจกรยานยนต์ มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างขั้นตอนงานการประกอบรถจักรยานยนต์ จากขั้นตอนแรกจนถึงขั้นตอนสุดท้ายเพื่อให้ได้รถจักรยานยนต์สำเร็จรูป และเวลาที่ใช้ในแต่ละขั้นตอนที่กำหนดขึ้น โดยมีขอบเขตของงานวิจัยมุ่งไปที่การประกอบรถจักรยานยนต์สำเร็จรูป และเวลาที่ใช้ในแต่ละขั้นตอนที่กำหนดขึ้น โดยมีขอบเขตของงานวิจัยมุ่งไปที่การประกอบรถจักรยานยนต์บนสายการผลิตหลักในรุ่น A และนำโครงสร้างที่ได้จากการออกแบบการจัดสายการประกอบรถจักรยานยนต์ในรุ่น A ไปใช้กับรุ่น B และ C ที่จัดอยู่ในกลุ่มของผลิตภัณฑ์เดียวกัน คือ รถจักรยานยนต์แบบครอบครัว โครงสร้างการประกอบที่ได้จากการออกแบบการจัดสายการประกอบรถจักรยานยนต์ จะถูกนำไปใช้ในการดำเนินการประกอบรถจักรยานยนต์ทั้ง 3 รุ่น โดยการกำหนดรอบเวลาการผลิตที่ต้องการคือ 0.78 นาที หรือ 46.8 วินาที เพื่อรองรับความต้องการกำลังการผลิตของโรงงานตัวอย่างที่จะทำการผลิต 9,300 คันต่อเดือน ในการกำหนดจุดปฏิบัติงานบนสายการผลิต เพื่อให้สามารถผลิตได้ตมรอบเวลาการผลิตที่กำหนด จะทำการคำนวณโดยการรวมงานย่อยที่กำหนดขึ้น เพื่อให้เวลารวมของงานย่อยเท่ากับรอบเวลาการผลิตที่กำหนด ซึ่งการรวมงานย่อยจะนำเอางานย่อยที่ได้ทำการเรียงลำดับก่อนและหลังตามโครงการสร้างการประกอบที่ได้จากการออกแบบการจัดสายการประกอบ ในการคำนวณเพื่อจัดกลุ่มงานตามโครงสร้างการประกอบ จะดำเนินการโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วย เพื่อลดระยะเวลาในการจัดกลุ่มงานให้สั้นลงโดยได้ทำการพัฒนาโปรแกรมที่ใช้หลักการของ COMSOAL Technique เพื่อให้สามารถรองรับเงื่อนไขในการประกอบรถจักรยานยนต์ จากการดำเนินการวิจัยได้กำหนดขั้นตอนงานย่อย ในการประกอบรถจักรยานยนต์รุ่น A ออกเป็นจำนวน 202 งานย่อย และจัดลำดับงานย่อยเป็นโครงสร้างการประกอบรุ่น A แล้วนำโครงสร้างของรุ่น A นำไปใช้ในการประกอบรุ่น B และ C ผลปรากฏว่า 90.0 เปอร์เซ็นต์ สามารถใช้โครงสร้างเดียวกันได้ 10.0 เปอร์เซ็นต์ เป็นความแตกต่างซึ่งเป็นรายละเอียดเฉพาะของแต่ละรุ่น ต้องทำการปรับเปลี่ยนโครงสร้างการประกอบ จากการคำนวณเพื่อจัดกลุ่มงานย่อยที่จะนำไปกำหนดเป็นจุดปฏิบัติงานบนสายการผลิตหลัก โดยผ่านโครงสร้างการประกอบที่ได้ทำการออกแบบไว้ โดยใช้คอมพิวเตอร์ให้ผลลัพธ์ในการจัดสมดุล สายการประกอบและจำนวนจุดปฏิบัติในรุ่น A คือ 92.38 เปอร์เซ็นต์ มีจุดปฏิบัติงาน 39 จุด , รุ่น B คือ 91.64 เปอร์เซ็นต์ มีจุดปฏิบัติงาน 40 จุด แล C คือ 90.73 เปอร์เซ็นต์ มีจุดปฏิบัติงาน 38 จุด ในการดำเนินการจัดกลุ่มงานย่อย ใช้อ้างอิงในการกำหนดจุดปฏิบัติงาน ผ่านโครงสร้างการประกอบที่ได้ออกแบบว้า โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ได้พัฒนาขึ้นในการประเมินผล ซึ่งสามารถลดระยะเวลาลงได้อย่างมาก จากวิธีการที่โรงงานตัวอย่างใช้ดำเนินการ |
Other Abstract: | The purpose of this research is to assign the work element of motorcycle assemble process from the first process to the last process a time requirement of each work element. The research scope put a Special emphasis on motorcycle assembly model A on the main assembly line of model A then applies the process designed of model A to the same process model like model B and model C. This product is called “ Moped ” model type. The complete process designed will implement to the motorcycle assembly line in the model A , B and C. by assigning the period of required time is 0.78 minute or 46.8 second to support the required capacity of trial production at 9,300 units per month. Program assign the work station to produce the product on required time. The program will combine the established work element by computerize and make the equal of all work element time and required time. The combined result assigned the work element priority to follow the process designed on the motorcycle assembly line. For group arranging, The computer program that develop by COMSOAL Technique will be provided to control the work element group for supporting the motorcycle assembly condition. From the research result 1 the work element (sub assembly parts) are distributed 202 work element to assemble for motorcycle assembly process in model A and then applies to model B and C. The result showing 90 percentage of the process able to use the same process and other remaining are specific of each model requirement. The specific process have to applies the assembly process of model A to model B and model C. The program will computerize the work element to work station assignment on the main assembly line through process designed as follow : - Model A Line balance assembly efficiency 92.38% Work station required for support cycle time 46.8 second is 39 Work station. - Model B Line balance assembly efficiency 90.73% Work station required for support cycle time 46.8 second is 40 Work station. - Model c Line balance assembly efficiency 90.73% Work station required for support cycle time 46.8 second is 38 Work station. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 |
Degree Name: | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | วิศวกรรมอุตสาหการ |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66162 |
ISBN: | 9743465219 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Boonchana_bu_front_p.pdf | หน้าปก และบทคัดย่อ | 811.06 kB | Adobe PDF | View/Open |
Boonchana_bu_ch1_p.pdf | บทที่ 1 | 710.82 kB | Adobe PDF | View/Open |
Boonchana_bu_ch2_p.pdf | บทที่ 2 | 1 MB | Adobe PDF | View/Open |
Boonchana_bu_ch3_p.pdf | บทที่ 3 | 2.67 MB | Adobe PDF | View/Open |
Boonchana_bu_ch4_p.pdf | บทที่ 4 | 2.31 MB | Adobe PDF | View/Open |
Boonchana_bu_ch5_p.pdf | บทที่ 5 | 2.08 MB | Adobe PDF | View/Open |
Boonchana_bu_ch6_p.pdf | บทที่ 6 | 702.05 kB | Adobe PDF | View/Open |
Boonchana_bu_back_p.pdf | บรรณานุกรม และภาคผนวก | 3.1 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.