Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66278
Title: นโยบายชาตินิยมทางเศรษฐกิจของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม กับการสร้างความชอบธรรมทางการเมือง
Other Titles: Nationalist economic polity of Field Marshal Phibunsongkhram administration and political legitimization
Authors: ปรีดารัตน์ พัฒนพีชัย
Advisors: อนุสรณ์ ลิ่มมณี
วิทยา สุจริตธนารักษ์
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์
Advisor's Email: Anusorn.L@Chula.ac.th
Withaya.S@Chula.ac.th
Subjects: ป. พิบูลสงคราม, จอมพล, 2440-2507
ชาตินิยม
อุดมการณ์ทางการเมือง
นโยบายเศรษฐกิจ -- ไทย
ไทย -- การเมืองและการปกครอง -- 2475-
ไทย -- ภาวะเศรษฐกิจ
Nationalism
Political ideologies
Thailand -- Economic policy
Thailand -- Politics and government, 2475-
Thailand -- Economic conditions
Issue Date: 2544
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การศึกษาเรื่องนโยบายชาตินิยมทางเศรษฐกิจของรัฐบาลจอมพลป. พิบูลสงครามกับการสร้างความชอบธรรมทางการเมือง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาว่านโยบายชาตินิยมทางเศรษฐกิจของรัฐบาลจอมพลป. พิบูลสงครามในช่วงปีพ.ศ. 2481-2487 เป็นนโยบายที่ถูกนำมาใช้เพื่อเป็นการสร้างความชอบธรรมทางการเมืองให้กับรัฐบาลหรือไม่ และผลจากการดำเนิน นโยบายชาตินิยมทางเศรษฐกิจของรัฐบาลเป็นอย่างไร วิธีการในการศึกษาวิจัย เป็นการศึกษาวิจัยเอกสารที่เกี่ยวข้องกับนโยบายชาตินิยมทางเศรษฐกิจของรัฐบาลเป็นหลักทั้งข้อมูลปฐมภูมิและข้อมูลทุติยภูมิ ผลจากการศึกษาวิจัยพบว่า นโยบายชาตินิยมทางเศรษฐกิจของรัฐบาลจอมพลป . พิบูลสงครามเป็นนโยบายที่ถูกนำมาใช้ในการสร้างความชอบธรรมทางการเมืองให้กับรัฐบาล ซึ่งผลของนโยบายไม่ได้เป็นไปตามจุดมุ่งหมายในการดึงฐานอำนาจทางเศรษฐกิจกลับคืนจากชาวต่างชาติโดยเฉพาะชาวจีนและสร้างฐานอำนาจทางเศรษฐกิจที่แท้จริงให้กับคนไทย
Other Abstract: The study of Nationalist Economic Policy of Field Marshal Phibunsongkhram Administration an d Political Legitimization aims to analyze these policies during 1938-1944 as means to create political legitimization and the real effects. The research draws from existing documents related to these policies from both primary and secondary sources. The study shows that this Nationalist Economic Policy has actually been used to gain the support from Thai people for his government whereas the actual goals and objectives are not met. It is impossible to create base for economic activities among Thais for that base is still under foreign control, particularly the Chinese.
Description: วิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544
Degree Name: รัฐศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: การปกครอง
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66278
ISBN: 9741702507
Type: Thesis
Appears in Collections:Pol - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Preedarat_pa_front_p.pdf735.03 kBAdobe PDFView/Open
Preedarat_pa_ch1_p.pdf778.92 kBAdobe PDFView/Open
Preedarat_pa_ch2_p.pdf1.07 MBAdobe PDFView/Open
Preedarat_pa_ch3_p.pdf1.69 MBAdobe PDFView/Open
Preedarat_pa_ch4_p.pdf2.45 MBAdobe PDFView/Open
Preedarat_pa_ch5_p.pdf1.67 MBAdobe PDFView/Open
Preedarat_pa_ch6_p.pdf753.35 kBAdobe PDFView/Open
Preedarat_pa_back_p.pdf1.29 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.