Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72562
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิศิษฐ์ ประจวบเหมาะ-
dc.contributor.authorกาญจนา กาญจนสินิทธ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-03-04T02:31:18Z-
dc.date.available2021-03-04T02:31:18Z-
dc.date.issued2515-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72562-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม.) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2515en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์นี้มีจุดมุ่งหมายที่จะศึกษาถึงการดำเนินงานวางแผนครอบครัวในประเทศไทยซึ่งจะเน้นศึกษาเกี่ยวกับโครงการวางแผนครอบครัว กระทรางสาธารณสุขโดยศึกษาถึงลักษณะการดำเนินงานตลอดจนผลสำเร็จและอุปสรรคข้อขัดข้องต่าง ๆ นอกจากนี้ยังได้ศึกษาถึงแนวโน้มนโยบาย รัฐบาลต่อปัญหาประชากรและความจำเป็นของการวางแผนครอบครัวต่อประเทศไทยอีกด้วยทั้งนี้โดยมีสมมติฐานว่า “ระบบการบริหารของราชการไม่สามารถประสบผลสำเร็จหากปราศจากนโยบายของรัฐบาลหรือการเมืองมาเกี่ยวข้องดังมีผู้กล่าวว่า การเมืองกับการบริหารนั้นเปรียบเสมือนคนละด้านของเหรียญอันเดียวกัน (Politics and Administration are the two sides of a single coin)” ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ได้มาจากเอกสารต่าง ๆ และผลการวิจัยของสถาบันและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับเรื่องการวางแผนครอบครัวรวมทั้งคำแนะนำและข้อคิดเห็นจากข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ของโครงการฯ นอกจากนี้ยังใช้ประสบการณ์ต่าง ๆ ที่ได้จากการปฏิบัติงานในโครงการฯ นี้ประกอบการศึกษาอีกด้วย ผลการศึกษาปรากฏว่าหากอัตราเพิ่มประชากรของประเทศไทยยังคงอยู่ในระดับไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๓ เช่นนี้ในอีกไม่ช้าจะต้องประสบกับปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจและสังคมนานาประการอันจะเป็นอุปสรรคสำคัญต่อการพัฒนาประเทศ ฉะนั้นประเทศไทยจึงต้องการนโยบายประชากรอย่างแท้จริง ลักษณะการตัดสินใจของรัฐบาลในการแก้ปัญหาต่าง ๆ โดยทั่วไปมุ่งที่จะรักษาความมั่นคงของประเทศชาติและความผาสุกของประชาชนเป็นหลักสำคัญรัฐบาลจึงได้ประกาศนโยบายประชากรภายหลังจากที่บรรดานักวิชาการและหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับปัญหาประชากรได้ศึกษาวิเคราะห์และดำเนินการวิจัยต่าง ๆ จนสามารถพิสูจน์ให้รัฐบาลตระหนักถึงผลดีผลเสียของการวางแผนครอบครัวต่อประเทศรวมทั้งแสดงให้เห็นถึงความต้องการของประชาชนในเรื่องนี้รัฐบาลจึงต้องมีนโยบายเพื่อสนองหลักการข้างต้นสำหรับการดำเนินงานวางแผนครอบครัวของโครงการวางแผนครอบครัวกระทรวงสาธารณสุขแสดงให้เห็นว่าหน่วยงานใด ๆ ก็ตามแม้ว่ารัฐบาลจะยังไม่มีนโยบายสนับสนุนก็อาจดำเนินงานได้ด้วยดีหากมีหน่วยงานและเจ้าหน้าที่รับผิดชอบพร้อมที่จะตั้งใจปฏิบัติงานในขอบเขตความรับผิดชอบของตนให้ดีที่สุดและได้รับความร่วมมือประสานงานจากหน่ายงานหรือสถาบันอื่น ๆ ซึ่งมีจุดประสงค์เดียวกันการปฏิบัติงานร่วมกันดังกล่าวจะเกิดผลสมบูรณ์ซึ่งจะช่วยให้รัฐบาลมีข้อมูลเพียงพอที่จะตัดสินปัญหารวมทั้งเมื่อรัฐลาลเห็นความต้องการของประชาชนก็จะสามารถกำหนดนโยบายได้อย่างถูกต้องนอกจากนี้การดำเนินงานดังกล่าวของโครงการฯ ยังเป็นตัวอย่างอันดีของหน่วยงานซึ่งเล็งเห็นแนวโน้มของรัฐบาลในการกำหนดนโยบายของประเทศโดยหน่วยงานนั้นได้เตรียมสรรพกำลังอย่างพร้อมเพียงและพร้อมที่จะปฏิบัติงานเพื่อสนองนโยบาบรัฐบาลได้ทันทีฉะนั้นข้อสมมุติฐานข้างต้นจึงไม่จำเป็นต้องถูกต้องเสมอไป-
dc.description.abstractThe purpose of this thesis is to study the family planning activities in Thailand as carried out by the National Family Planning Program and other related organizations. Developments toward a population policy and the relationship of population growth to social and economic development are also included. The following hypothesis is set forth: Information and survey results used in this study were derived from various documents of the National Family Planning Program and from other related organizations. Suggestions and advice were offered by senior project personnel. In addition personal experience gained in working in the National Family Planning Program for two were has been taken into consideration in preparing this thesis. It was found that economic, demographic and health leaders brought the serious adverse effects of the high rate of population growth on social and economic development to the attention of the Government on serveral occasions since 1960. Although, in general, the decision making of the government is based on national security and the well-being of the people, it took a long series of recommendations about the population issue and the actual demonstration of the demand of people for family planning services before the cabinet adopted a national population policy for Thailand in March, 1973. Family planning activities performed by the National Family Planning Program of the Ministry of Public Health demonstrates that adminis-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.1972.2-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการวางแผนครอบครัว -- ไทยen_US
dc.subjectFamily planning -- Thailand-
dc.titleการดำเนินงานวางแผนครอบครัวในประเทศไทยศึกษาเฉพาะ โครงการวางแผนครอบครัว กระทรวงสาธารณสุขen_US
dc.title.alternativeCase study of the family planning project of the Ministry of Public Healthen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการปกครองen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.1972.2-
Appears in Collections:Pol - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kanchana_ka_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ1.07 MBAdobe PDFView/Open
Kanchana_ka_ch1_p.pdfบทที่ 1903.1 kBAdobe PDFView/Open
Kanchana_ka_ch2_p.pdfบทที่ 21.58 MBAdobe PDFView/Open
Kanchana_ka_ch3_p.pdfบทที่ 34.1 MBAdobe PDFView/Open
Kanchana_ka_ch4_p.pdfบทที่ 43.07 MBAdobe PDFView/Open
Kanchana_ka_ch5_p.pdfบทที่ 54.75 MBAdobe PDFView/Open
Kanchana_ka_ch6_p.pdfบทที่ 61.53 MBAdobe PDFView/Open
Kanchana_ka_back_p.pdfรายการอ้างอิงและภาคผนวก996.64 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.