Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74523
Title: การเพิ่มประสิทธิภาพแรงงานในอุตสาหกรรมปลากระป๋อง
Other Titles: Labour productivity improvement in fishery cannery
Authors: เตือนใจ สมบูรณ์วิวัฒน์
Advisors: จรูญ มหิทธาฟองกุล
วันชัย ริจิรวนิช
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: Charoon.M@Chula.ac.th, fiecmh@eng.chula.ac.th
Vanchai.R@chula.ac.th
Subjects: สายการผลิต
การควบคุมกระบวนการผลิต
อุตสาหกรรมปลากระป๋อง
อุตสาหกรรมอาหารกระป๋อง
Process control
Assembly-line methods
Canned foods industry
Canned fish
Issue Date: 2532
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: วิทยานิพนธ์นี้เป็นการวิจัยเพื่อหาแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพแรงงาน โดยใช้โรงงานปลากระป๋องซึ่งผลิตปลาทูน่ากระป๋อง ผลิตภัณฑ์ส่งออกที่สำคัญของไทยเป็นโรงงานตัวอย่าง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดการด้านแรงงานในการผลิต และปัญหาที่เกิดขึ้นเพื่อหาแนวทางเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตให้สูงขึ้น ผลการศึกษาพบว่าประสิทธิภาพแรงงานในอุตสาหกรรมปลาทูน่ากระปองขึ้นอยู่กับแรงงาน ในการขูดเลือกปลาซึ่งประสิทธิภาพการทำงานเป็นไปตามเส้นโค้งของการเรียนรู้และแนวทางการใช้ระบบจูงใจมีส่วนสำคัญในการเพิ่มประสิทธิภาพแรงงาน ทำให้กำลังผลิตเพิ่มขึ้น ลดการสูญเสียแรงงานจากอัตราการหมุนเวียนงานที่สูงและลดค่าใช้จ่ายในการผลิต ในด้านพนักงานเป็นการเพิ่มขีดความสามารถของพนักงาน ทำให้มีรายได้มากขึ้นและเป็นการสร้างขวัญกำลังใจอันดี การศึกษาสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นพบว่า ปัญหาการจัดการด้านการผลิตทำให้สูญเสียแรงงาน ซึ่งงานวิจัยนี้ได้มีความพยายามในการแก้ปัญหาด้วยการวางแผนการผลิต และจัดวันทำงานทำให้การทำงานเป็นระบบมากขึ้น ส่งผลให้ประสิทธิภาพแรงงานเพิ่มขึ้น คือจากการวางแผนการผลิตประสิทธิภาพแรงงานเพิ่มขึ้น 16.35% โดยมีผลผลิตเฉลี่ยเพิ่มเป็น 57.54 ต้น/วัน จากเดิม 46.43 ต้น/วัน และดัชนีทางการผลิตเพิ่มขึ้นอีก 15.31% เมื่อจัดวันทำงาน เป็นผลผลิตเพิ่มขึ้นจากอาทิตย์ละ 345.23 ต้นเป็น 436.43 ต้น
Other Abstract: This study is aimed to increase Labor Productivity using fishery canned industry as a case study. The study of Labor management involved mainly on the production problems. Labor productivity study in the fishery canned industry emphasize on the cleaning process. The study reveals that the productivity increase according to the training and depends much on Incentive System, production capacity and reduction of unnecessary expense from high labor turnover. The study helps creating higher working ability, more income and good morale. The study of production problems reveals that a good production plan and the rearrangement of working day caused to improve the productivity is a significant figure. Labor productivity increase 16.35% with an average in daily production from 46.43 tons to 57.54 tons. The production index increase by 15.31% and weekly production increase from 345.23 tons to 436.43 tons.
Description: วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2532
Degree Name: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิศวกรรมอุตสาหการ
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74523
ISBN: 9745761559
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Tuanjai_so_front_p.pdf1.03 MBAdobe PDFView/Open
Tuanjai_so_ch1_p.pdf1.3 MBAdobe PDFView/Open
Tuanjai_so_ch2_p.pdf2.39 MBAdobe PDFView/Open
Tuanjai_so_ch3_p.pdf2.12 MBAdobe PDFView/Open
Tuanjai_so_ch4_p.pdf2.14 MBAdobe PDFView/Open
Tuanjai_so_ch5_p.pdf2.83 MBAdobe PDFView/Open
Tuanjai_so_ch6_p.pdf1.45 MBAdobe PDFView/Open
Tuanjai_so_ch7_p.pdf1.06 MBAdobe PDFView/Open
Tuanjai_so_ch8_p.pdf692.02 kBAdobe PDFView/Open
Tuanjai_so_back_p.pdf4.61 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.