DSpace Repository

xmlui.ArtifactBrowser.ConfigurableBrowse.title.metadata.discipline

xmlui.ArtifactBrowser.ConfigurableBrowse.title.metadata.discipline

Sort by: Order: Results:

  • สิรเศรษฐ ปัณฑุรอัมพร (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548)
    บทประพันธ์เพลง "กระแสธาร" ประพันธ์ขึ้นในแบบดนตรีนามธรรม โดยมิได้เป็นการพรรณนาอารมณ์ความรู้สึกต่างๆ ในการประพันธ์ผลงานนี้ ผู้ประพันธ์มีวัตถุประสงค์ให้บทประพันธ์เพลงนี้เป็นการเผยแพร่ดนตรีร่วมสมัยในแบบนามธรรมสำหรับผู้ฟังทั่วไป ...
  • พิสิฐ พิริยะภรณ์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546)
    บทเพลงประเภท ดนตรีบริสุทธิ์ในรูปแบบการประชันนั้น นับเป็นบทเพลงที่มีคุณค่ายิ่งในวงการดนตรี ในแง่ของการนำเสนอเทคนิคการบรรเลงชั้นสูง การถ่ายทอดสำเนียงอันไพเราะและการสร้างสรรค์งานทางด้านศิลปะดนตรี ของเครื่องดนตรีแต่ละชิ้น ...
  • ต้นเถา ช่วยประสิทธิ์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546)
    บทประพันธ์เพลง คอนแชร์โต สำหรับ ทรัมเป็ตและวงออร์เคสตรา ผู้ประพันธ์ได้ประพันธ์ขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการสร้างสรรบทประพันธ์เพลงประชันในรูปแบบของดนตรีบริสุทธิ์และต้องการนำเสนอถึงวิธีการประพันธ์ไนรูปแบบดนตรีประชันที่ ...
  • สาธิต มีชูโภชน์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548)
    บทประพันธ์เพลง “คอนแชร์โตสำหรับวิโอลาและออร์เคสตรา" บทนี้ ประกอบด้วย โครงสร้างใหญ่จำนวน 3 กระบวน สังคีตลักษณ์ที่ใช้ในบทประพันธ์คือ สังคีตลักษณ์โซนาตา สังคีตลักษณ์สามตอน และสังคีตลักษณ์การแปรตามลำดับ มีความยาวประมาณ 17 นาที ...
  • ดลฤทัย ศรีเจริญ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551)
    บทประพันธ์เพลงบทนี้ประพันธ์ขึ้นในรูปแบบบทบรรเลงประชันที่แสดงให้เห็นถึงดนตรีบริสุทธิ์โดยเน้นที่ความลงตัวในการสอดประสานและความไพเราะในการเรียบเรียงเสียงประสานของดนตรีในศตวรรษที่ยี่สิบ ผู้ประพันธ์ได้ศึกษาขอบเขตของเทคนิคการป ...
  • วิบูลย์ ตระกูลฮุ้น (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545)
    บทประพันธ์เพลง “ซิมโฟนิกโพเอ็ม นครวัด” ประพันธ์ขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการสร้างบทประพันธ์เพลงบทใหม่ในแบบดนตรีพรรณนา อีกทั้งเพื่อเป็นการเสริมสร้างและกระตุ้นความสนใจสำหรับผู้ฟังโดยทั่วไป การประพันธ์เพลงบทนี้ผู้ประพัน ...
  • สำราญ เชื้อพันธ์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550)
    บทประพันธ์เพลง “ซิมโฟนิกโพเอ็ม ลำนำแห่งช้างสยาม” ประพันธ์ขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างสรรค์บทประพันธ์เพลงใหม่ ในรูปแบบดนตรีร่วมสมัยไทย สะท้อนถึงชีวิตช้างไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันโดยผู้ประพันธ์มีความตั้งใจที่จะผสมผสาน ...
  • วรเขต ทะโกษา (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549)
    บทประพันธ์เพลง ซิมโฟนี “แจ๊สสิค” (SYMPHONY “JAZZIC”) บทนี้ ผู้ประพันธ์ได้ประพันธ์ขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการสร้างบทประพันธ์เพลงบทใหม่ในแบบดนตรีบริสุทธิ์ ซึ่งมีลักษณะสำคัญที่การผสมผสานเนื้อหาของดนตรีคลาสสิกและดนตรีแจ๊ส ...
  • เอกชัย พุหิรัญ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548)
    บทประพันธ์นี้ได้รับแรงบันดาลใจจากดาวพลูโตถึงแม้ว่าจะถูกค้นพบมาประมาณ 80 ปีแล้วก้ตามแต่ปัจจุบันก็คงความลึกลับอยู่ทำให้ดาวดวงนี้มีความน่าสนใจที่จะศึกษาอยู่ตลอดเวลาเปรียบเสมือนโลกของดนตรีแม้ว่าการเวลาผ่านไปเท่าใดก็ยังมีสิ่ง ...
  • อิทธิพล รวบรวม (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551)
    บทประพันธ์เพลง ซิมโฟนี หมายเลข 1 (SYMPHONY NO.1) บทนี้ ผู้ประพันธ์ได้ประพันธ์ขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างเป็นบทประพันธ์เพลงชิ้นใหม่ในแบบดนตรีบริสุทธิ์ ด้วยจินตนาการสร้างสรรค์แนวทำนองหลักขึ้นใหม่ให้แต่ละกระบวนของบทเพลง ...
  • ชาญสรรค์ วรรณะ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550)
    บทประพันธ์เพลง "ซิมโฟนีหนึ่งพันเก้าร้อยเจ็ดสิบหก" ประพันธ์ขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการสร้างบทประพันธ์เพลงบทใหม่ ในแบบดนตรีพรรณนา ประเภทบทเพลงซิมโฟนีที่ถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึก เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์การเมืองไทย ...
  • อโณทัย วิทยวิรานนท์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548)
    ซิมโฟนีหมายเลย 1 ได้รับแรงบันดาลใจจากนักประพันธ์หลายท่านในศตวรรษที่ 20 อาทิอีกอร์สตราวินสกี (1882-1971) เบลา บาร์ตอก (1881-1945) กุสตาฟ มาเลอร์ (1860-1911) และจอหน์ โคริจเลียนโน (1938-) บทประพันธ์นี้เน้นในเรื่องการถ่ายทอ ...
  • ประเสริฐ ฉิมท้วม (2546)
    บทประพันธ์เพลง ซิมโฟนิกโพเอ็ม ทางรถไฟสายมรณะ ผู้ประพันธ์ได้ประพันธ์ขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการสร้างบทประพันธ์เพลงบทใหม่ในแบบดนตรีพรรณนา การประพันธ์เพลงบทนี้ ผู้ประพันธ์ต้องการสื่อให้ได้จินตนาการถึง บรรยากาศและเรื่อ ...
  • วานิช โปตะวนิช (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547)
    บทประพันธ์เพลง ทุ่งสังหาร ผู้ประพันธ์ได้ประพันธ์ขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการสร้างบทประพันธ์เพลงบทใหม่ในแบบดนตรีพรรณนา การประพันธ์เพลงบทนี้ ผู้ประพันธ์ต้องการสื่อให้ได้จินตนาการถึง บรรยากาศและเรื่องราวในประวัติศาสตร์ ...
  • จักรี กิจประเสริฐ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547)
    บทประพันธ์เพลง บางกอกแฟนตาเซีย ผู้ประพันธ์ได้ประพันธ์ขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อเป็นการสร้างบทประพันธ์เพลงบทใหม่ในแบบดนตรีพรรณนา การประพันธ์เพลงบทนี้ ผู้ประพันธ์ ต้องการสื่อให้ได้จินตนาการถึงบรรยากาศและเรื่องราวในประวัติ ...
  • อุมาพร คณนาพร (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546)
    บาเบลสำหรับออร์เคสตราเป็นบทเพลงที่ประพันธ์ขึ้นใหม่ในแบบดนตรีพรรณนา ชื่อของบทเพลงได้รับแรงบันดาลใจมาจากเรื่องราวในคัมภีร์ไบเบิล ในตอนที่กล่าวถึงหอคอยบาเบล ประกอบไปด้วย 3 กระบวนคือ ความทะเยอทะยาน การสร้างหอบาเบล และภาษาที่วุ่นวาย ...
  • มานิตย์ บูชาชนก (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551)
    โลกเกิดขึ้นเมื่อประมาณ 4,500 ล้านปีที่แล้ว นักวิทยาศาสตร์ได้แบ่งช่วงเวลาที่ยาวนานว่ามหายุค เริ่มต้นด้วยมหายุคปรีแคมเบรียนซึ่งเกิดขึ้นมาเมื่อประมาณ 540 ล้านปีที่ผ่านมา สิ่งชีวิตที่เกิดขึ้นมีโครงสร้างที่ไม่ซับซ้อน ...
  • กิตติ เครือมณี, 2521- (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547)
    บทประพันธ์เพลงล้านนา ซิมโฟนิกโพเอ็ม สำหรับวงดุริยางค์เครื่องลม ผู้ประพันธ์ได้ประพันธ์ขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการสร้างบทประพันธ์เพลงบทใหม่ในแบบดนตรีพรรณนา ในการประพันธ์เพลงบทนี้ ผู้ประพันธ์ต้องการสื่อให้ได้จินตนาการ ...
  • พงศ์พูน พิบูลย์เกษตรกิจ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551)
    บทประพันธ์เพลง สยามซิมโฟนี ผู้ประพันธ์ได้ประพันธ์ขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้าง บทประพันธ์ใหม่ในแบบดนตรีพรรณนา การประพันธ์บทเพลงนี้ ผู้ประพันธ์ต้องการนำเสนอ บทเพลงซึ่งมีการผสมผสานระหว่างดนตรีไทยกับดนตรีตะวันตก ...
  • ฟรานซีส นันตะสุคนธ์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550)
    “สาวิตรี” เป็นเรื่องราวของสตรีนางหนึ่งที่ถูกเอ่ยขึ้นในบทสนทนายกย่องสตรีของยุธิษเฐียรและพระมรรกัณเฑยะ จาก ปรติวรตามาหาตฺมฺยปรฺว ใน วนปรฺว แห่งมหาภารต ว่ามีความเพียบพร้อมเทียบเท่านางเทราปที ต่อมาเรื่องราวของนางได้กลายมาเป็ ...