DSpace Repository

การศึกษาเปรียบเทียบผลของการปรึกษาเชิงจิตวิทยาทางอาชีพแบบกลุ่ม กับโปรแกรมการศึกษาทางอาชีพด้วยตนเองต่อวุฒิภาวะทางอาชีพ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

Show simple item record

dc.contributor.advisor จีน แบรี่
dc.contributor.author สมศักดิ์ สีดากุลฤทธิ์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned 2016-06-08T23:56:37Z
dc.date.available 2016-06-08T23:56:37Z
dc.date.issued 2532
dc.identifier.isbn 9745697826
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48406
dc.description วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2532 en_US
dc.description.abstract การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบผลของการปรึกษาเชิงจิตวิทยาทางอาชีพแบบกลุ่มกับโปรแกรมการศึกษาทางอาชีพด้วยตนเองต่อวุฒิภาวะทางอาชีพของนักเรียนชั้นมัธมศึกษาปีที่ 3 กลุ่ม ตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนชุมแพศึกษา จังหวัดขอนแก่น จำนวน 24 คน โดยสุ่มแบบจำแนกชั้นภูมิเป็นกลุ่มทดลอง 2 กลุ่ม และกลุ่มควบคุม 1 กลุ่ม กลุ่มละ 8 คน กลุ่มทดลอง (A) ได้รับการปรึกษาเชิงจิตวิทยาทางอาชีพแบบกลุ่ม สัปดาห์ละ 2 ครั้ง ครั้งละ 1 ชั่วโมง รวม 12 ครั้ง โดยมีผู้วิจัยเป็นผู้นำกลุ่ม กลุ่มทดลอง (B) ได้รับโปรแกรมการศึกษาทางอาชีพด้วยตนเอง สัปดาห์ละ 2 ครั้ง ครั้งละ 1 ชั่วโมง รวม 12 ครั้ง โดยมีครูแนะแนวของโรงเรียนเป็นผู้ดำเนินการ กลุ่มควบคุม (C) ไม่ได้รับการช่วยเหลือด้วยวิธีใด ๆ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบวัดวุฒิภาวะทางอาชีพ มาตรวัดทัศนคดิของจอห์น โอ ไคร์ทส ซึ่งแปลและเรียนเรียงโดย ดร. พรรณราย ทรัพยะประภา ใช้การวิจัยแบบมีกลุ่มควบคุมทดสอบก่อนและหลังการทดลอง (Pretest-Posttest Control Group Design) ผลการวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยของคะแนนวุติภาวะทางอาชีพ จากการทดสอบก่อนการทดลอง และหลังการทดลองของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม โดยการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way Analysis of Variance) และทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ดดยวิธีของเซฟเฟ (Scheffe) พบว่า กลุ่มทดลอง (A) ที่ได้รับการปรึกษาเชิงจิตวิทยาทางอาชีพแบบกลุ่มมีคะแนนวุฒิภาวะสูงกว่ากลุ่มทดลอง (B) ที่ได้รับโปรแกรมการศึกษาทางอาชีพด้วยตนเองและกลุ่มควบคุม (C) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และพบว่ากลุ่มทดลอง (B) ที่ได้รับโปรแกรมการศึกษาทางอาชีพด้วยตนเองมีคะแนนวุฒิภาวะทางอาชีพสูงกว่ากลุ่มควบคุม (C) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 en_US
dc.description.abstractalternative The purpose of this research was to compare the effects of group career counseling and of a self-directed career study program on the career maturity mathayom suksa three students. The sample included mathayom suksa three students at Chumpae Suksa School, Khon Kaen. The subjects were assigned through stratified random sampling to three groups, each group comprising 8 students for a total of 24 students. The experimental group (A) participated in group career counseling, 2 sessions per week, for a total of 12 sessions of 1 hour each. The group leader was the researcher. The experimental group (B) participated in a self-directed career study program, 2 sessions per week, for a total of 12 sessions of 1 hour each under the direction of a school guidance counselor. The control group (C) did not receive any treatment. The instrument used for this research was “The Career Maturity Inventory”, of John O.Crites translated by Dr. Parnarai Sapayaprapa. The pretest-posttest control group design was used. The data were analysed using of the one-way analysis of variance and the Scheffe procedure. Results indicate that students undergoing group career counseling showed a greater increase in career maturity scores than those in the self-directed career study program and those in the control group, significant at the .05 level; students in the self-directed career study program showed a greater increase in career maturity scores than those in the control group, significant at the .05 level. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject การให้คำปรึกษาแบบกลุ่ม en_US
dc.subject การแนะแนวอาชีพ -- ไทย en_US
dc.subject การศึกษาทางอาชีพ -- แบบเรียนสำเร็จรูป en_US
dc.title การศึกษาเปรียบเทียบผลของการปรึกษาเชิงจิตวิทยาทางอาชีพแบบกลุ่ม กับโปรแกรมการศึกษาทางอาชีพด้วยตนเองต่อวุฒิภาวะทางอาชีพ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 en_US
dc.title.alternative A comparative study of the effects of group career counselting and of a self-directed carected career study program on the career maturity of mathayom suksa three students en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline จิตวิทยา en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor ไม่มีข้อมูล


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record