DSpace Repository

ความผิดอาญาดูหมิ่นและหมิ่นประมาท : ศึกษาเปรียบเทียบตั้งแต่กฎหมายตราสามดวง จนถึงประมวลกฎหมายอาญา

Show simple item record

dc.contributor.advisor มัทยา จิตติรัตน์
dc.contributor.author ศิโรตม์ ทองคำ
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์
dc.date.accessioned 2017-12-25T08:23:39Z
dc.date.available 2017-12-25T08:23:39Z
dc.date.issued 2549
dc.identifier.isbn 9741435142
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56623
dc.description วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 en_US
dc.description.abstract ความผิดอาญาฐานดูหมิ่นและความผิดอาญาฐานหมิ่นประมาทเป็นความผิดที่ปรากฏในสังคมไทยตั้งแต่อดีต โยบทบัญญัติเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวปรากฏอยู่ในบทพระไอยการและกฎหมายฉบับต่าง ๆ ในกฎหมายตราสามดวง ซึ่งเป็นกฎหมายที่ได้รับอิทธิพลทางด้านแนวความคิดมาจากศาสนาฮินดู และพระพุทธศาสนา ในรูปของพระธรรมศาสตร์ เมื่อได้มีการนำมาใช้ในสังคม ก็ได้ประยุกต์เอาปัจจัยทางสังคมต่าง ๆ ที่เป็นลักษณะของไทยโดยแท้ อาทิเช่น ระบบการปกครอง และคติความเชื่อทางศาสนา และคติความเชื่อพื้นบ้าน มากำหนดไว้ในการบัญญัติกฎหมายดังกล่าวด้วย อย่างไรก็ตาม เนื่องมาจากการรับวิทยาการสมัยใหม่และแนวความคิดทางกฎหมายจากต่างประเทศ รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงระบบการเมืองการปกครอง สภาพเศรษฐกิจและสังคม จึงทำให้บทบัญญัติเกี่ยวกับความผิดอาญาทั้งสองฐานในกฎหมายตราสามดวง ไม่ครอบคลุมการกระทำความผิดในรูปแบบใหม่ ๆ และไม่สอบคล้องกับแนวความคดของกฎหมายต่างประเทศ ดังนั้นจึงได้มีการเปลี่ยนแปลงถ้อยบัญญัติของการกระทำความผิดฐานดูหมิ่นและความผิดอาญาฐานหมิ่นประมาทเพื่อให้มีความเหมาะสมและสอดคล้อง กับสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป โดยมีการบัญญัติแยกฐานความผิดทั้งสองจากกันอย่างเด่นชัด ทั้งสืบเนื่องมาจากอิทธิพลของกฎหมายจากประเทศทางตะวันตก จึงได้มีการให้ความสำคัญต่อการกระทำความผิดฐานหมิ่นประมาทมากขึ้น ตามค่านิยมของสังคมซึ่งเห็นว่าการใส่ความผู้อื่น ย่อมทำให้ให้ผู้ถูกใส่ความได้รับความเสียหายมากกว่า ซึ่งต่างจากบทบัญญัติของกฎหมายไทยดั้งเดิมที่เห็นว่าการใส่ความนั้น ผู้ถูกใส่ความมิได้รับความเสียหายเท่ากับการดูหมิ่น en_US
dc.description.abstractalternative Insult and defamation offences are the offence that aries in Thai society over a long time. Especially the Royal Decrees and many Statues in THE CODE OF THE THREE GREAT SEALS, received Hindu influence particularly the Buddhis version as Dhamasathra. Moreover, when Thais received the law and applied to Thai ancient society. They adapted the thinking of Thai Feudalism, the religious faith and folklore to provide to the Law, too. However, because of the reception of printing technology and Western legal concept influence, a change of Thai government and a change of Thai society, caused the provisions of law of insult and defamation offences in THE CODE OF THE THREE GREAT S3EALS were not covered to the new crime and differ from the Western legal thought. So, THE PENAL CODE R.S. 127 should be amended the insult and defamation offences according to a change of Thai society. Especially, separated the defamation offence from the insult offence. It caused from the modern social value and the influence of the Western legal thought that the defamation offence was quiet important than the insult offence. It seemed directly opposite from the ancient Thai legal thought, that the defamed person was not be suffered like the insulted. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.9
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject กฎหมายเปรียบเทียบ -- ไทย en_US
dc.subject กฎหมายตราสามดวง -- ไทย en_US
dc.subject กฎหมายอาญา -- ไทย en_US
dc.subject หมิ่นประมาท -- ไทย en_US
dc.subject ความผิดทางอาญา -- ไทย en_US
dc.subject Comparative law -- Thailand en_US
dc.subject Three Great Seals -- Thailand en_US
dc.subject Criminal law -- Thailand en_US
dc.subject Libel and slander -- Thailand en_US
dc.subject Mistake (Criminal law) -- Thailand en_US
dc.title ความผิดอาญาดูหมิ่นและหมิ่นประมาท : ศึกษาเปรียบเทียบตั้งแต่กฎหมายตราสามดวง จนถึงประมวลกฎหมายอาญา en_US
dc.title.alternative Insult defamation : a comparative study of the criminal law from the period of the code of the Three Great Seals to the period of the Penal Code en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name นิติศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline นิติศาสตร์ en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor ไม่มีข้อมูล
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2006.9


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record