DSpace Repository

การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนอ่านสำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา ที่มีความบกพร่องในการเรียนรู้ด้านการอ่าน ตามแนวคิดพหุสัมผัสและแนวคิดสื่อกลางการสอน

Show simple item record

dc.contributor.advisor น้อมศรี เคท
dc.contributor.advisor จีระพันธุ์ พูลพัฒน์
dc.contributor.author จรีลักษณ์ จิรวิบูลย์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-01-13T02:31:54Z
dc.date.available 2020-01-13T02:31:54Z
dc.date.issued 2545
dc.identifier.isbn 9741714793
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64105
dc.description วิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 en_US
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตอุประสงค์เพื่อ 1.พัฒนารูปแบบการเรียนการสอนอ่านสำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษาที่มีความบกพร่องในการเรียนรู้ด้านการอ่านตามแนวคิดพทุสัมผัสและแนวคิดสื่อกลางการสอน 2. ศึกษาผลการใช้ รูปแบบการเรียนการสอนอ่านสำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษาที่มีความบกพร่องในการเรียนรู้ด้านการอ่านตามแนวคิดพทุสัมผัสและแนวคิดสื่อกลางการสอนที่มีต่อความสามารถในการอ่าน ความคงทนในการเรียนรู้ การเห็น คุณค่าในตนเองและความสนใจในการเรียนของนักเรียนที่มีฅวามบกพร่องในการเรียนรู้ด้านการอ่าน ผลการวิจัยพบว่า 1. รูปแบบการเรียนการสอนอ่านสำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษาที่มีความบกพร่องในการเรียนรู้ด้านการอ่านตามแนวคิดพทุสัมผัสและแนวคิดสื่อ กลางการสอน มีองค์ประกอบสำคัญ 5 ประการ คือ หลักการ จุดมุ่งหมายเนื้อหา กระบวน การเรียนการสอน การวัดและการประเมินผล รูป แบบการเรียนการสอนมีกระบวนการเรียนการสอน 3 ขั้น คือ ขั้นที่ 1 . ก ารเรียนรู้ตามเนื้อหาสาระที่กำหนดโดยแบ่งเป็นบทเรียนย่อย ๆ ประกอบด้วย การกำหนด จุดมุ่งหมายในการเรียน การเรียนรู้ทักษะพื้นฐาน การรับรู้ข้อมูลและการฝึกทักษะ การอ่านคำหรือข้อความใหม่ การบันทึกคำที่อ่านได้ 2. การประยุกต์ใช้ความรู้ ประกอบด้วยการกำหนดจุดมุ่งหมายของการอ่าน การรับ และคัดเลือกข้อมูล การกำหนดความสัมพันธ์ของข้อมูล การประมวลคำ การสรุปใจความสำคัญของข้อมูล ขั้นที่ 3. การแสดงผลงานและประเมินผลงาน ประกอบด้วยการนำเสนอผลงานและการประเมินผลงานโดยนักเรียน เพื่อนและครู 2. ผลการทดลองใช้รูปแบบพบว่า 2.1 นักเรียนที่อยู่ในกลุ่มทดลองมีความสามารถในการอ่าน มีการเห็นคุณค่าในตนเองและความสนใจในการเรียนหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 2.2 นักเรียนที่อยู่ในกลุ่มทดลองมีความสามารถในการอ่าน ความคงทนในการเรียนรู้ การเห็นคุณค่าในตนเองและความสนใจในการเรียนสูงกว่าของนักเรียนในกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05
dc.description.abstractalternative The purposes of this research were ; 1) to develop a reading instructional model based on the multisensory approach and the mediated instructional approach 2) to study the effects of using the instructional model on reading achievement, retention, self-esteem and learning intention of dyslexic students. The research procedures comprised of 2 steps. First, developing the instructional model and supplementary materials. The second was testing the developed model. The results of this research were as follows: 1. The instructional model consisted of 5 elements : principles, objectives, contents, instructional processes, and evaluation. The instructional processes involved 3 steps : learning basic skills which composed of setting objectives, learning to read and d rill, reading new words and saving them in the word bank. The second step was application; general task process, information screener, prepositional network processor, word processor and macrostructure generator. The last one was presentation and evaluation. 2. The results of testing the model were a) The posttest average scores of reading achievement, self-esteem and learning intention of the students in the experimental group were higher than those one of their pre-test at the .05 level of significance. b) The posttest average scores of the reading achievement, retention, self-esteem, and learning intention of the students in the experimental group higher than those of the students in controlled group at the .05 level of significance.
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2002.715
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject เด็กที่มีปัญหาในการเรียนรู้ en_US
dc.subject การอ่านขั้นประถมศึกษา en_US
dc.subject Learning disabled children en_US
dc.subject Reading (Elementary) en_US
dc.title การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนอ่านสำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา ที่มีความบกพร่องในการเรียนรู้ด้านการอ่าน ตามแนวคิดพหุสัมผัสและแนวคิดสื่อกลางการสอน en_US
dc.title.alternative The development of an instructional reading model for dyslexic students at elementary education level based on the multisensory approach and the mediated instructional approach en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาเอก en_US
dc.degree.discipline หลักสูตรและการสอน en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor ไม่มีข้อมูล
dc.email.advisor cheerapan.b@chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2002.715


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record