DSpace Repository

การศึกษาการเปิดรับสารสนเทศเพื่อการศึกษาจากสื่อมวลชนไทย

Show simple item record

dc.contributor.advisor วชิราพร อัจฉริยโกศล
dc.contributor.advisor ไพฑูรย์ สินลารัตน์
dc.contributor.author เฉลิมพร อุ่นแก้ว
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-04-12T13:18:19Z
dc.date.available 2020-04-12T13:18:19Z
dc.date.issued 2545
dc.identifier.isbn 9741733542
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65289
dc.description วิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 en_US
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาการเปิดรับสารสนเทศเพื่อการศึกษาจากสื่อมวลชนไทย โดยศึกษาปริมาณสารสนเทศ ปัญหาอุปสรรคในการเปิดรับของสารสนเทศเพื่อการศึกษาผ่านสื่อมวลชนไทย การศึกษานี้เป็นการศึกษาโดยใช้แบบสอบถามในกลุ่มนักศึกษาและประชาชนผู้เข้าใช้ ห้องสมุดสาธารณะและการสัมภาษณ์กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ สื่อมวลชนในการศึกษานี้คือ โทรทัศน์วิทยุ และหนังสือพิมพ์ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. นักศึกษาและประชาชนมีการรับสารสนเทศเพื่อการศึกษาจากสื่อมวลชนในระดับน้อย โดยสนใจรับสารสนเทศเพื่อการศึกษาจากโทรทัศน์สถานีต่าง ๆ ในระดับ 10-30 % ในอัตราที่ใกล้เคียงกันเกือบทุกช่อง รายการสารสนเทศเพื่อการศึกษาที่มีลักษณะเชิงบันเทิง ได้รับการเปิดรับในระดับมากกว่ารายการวิเคราะห์เชิงลึก และรายการเพื่อการศึกษาโดยตรง 2. ปัญหาอุปสรรคในการเปิดรับสารสนเทศเพื่อการศึกษาจากสื่อมวลชน คือสื่อมวลชนมีรายการที่มีสารสนเทศเพื่อการศึกษาให้เลือกน้อยและไม่ตรงกับความต้องการ สอดคล้องกับลักษณะโครงสร้างหน้าที่ชองสื่อ ซึ่งไม่เอื้อต่อการรับสารสนเทศเพื่อการศึกษา ในขณะที่สื่อวิทยุกระจายเสียงมีปัญหาเรื่องคลื่นส่งไม่ชัดเจนอีกด้วย หนังสือพิมพ์ที่มีสารสนเทศเพื่อการศึกษาในปริมาณมากนั้นมีปัญหา คือ มีผู้อ่านน้อย โดยมีผู้เปิดอ่านในระดับ 0.5-3 %
dc.description.abstractalternative The objectives of the research was to study the educational information exposure of mass media in Thailand. The mass media in this study included television, radio, and newspaper. Data were collected by questionnaire survey of university students, public library users and The mass media specialists interview, The results of the study are; 1. The exposure of mass media on educational information in Thailand was found to be lower level. Only 10-30 percent of the receivers were similarly exposed to the educational information from every television channels. It was also found that the edutainment programs were more popular than in-depth analysis, condemnatory and direct educational programs. 2. Problems and obstacles on educational information exposure was that there were not enough educational programs and most of them were not in accord with the customer’s need. The structure of Thai broadcasting system was not support of the educational information exposure. While radio broadcasting transmission quality was not clear enough. Thai newspapers with more educational information are less popular with only 0.5-3 percent of exposure among respondents and also for general readership.
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2002.741
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject สื่อมวลชนกับการศึกษา en_US
dc.subject สารสนเทศ en_US
dc.subject สื่อมวลชน -- ไทย en_US
dc.subject การศึกษา -- ไทย en_US
dc.subject ปริญญาดุษฎีบัณฑิต en_US
dc.subject Mass media and education en_US
dc.subject Mass media -- Thailand en_US
dc.subject Education -- Thailand en_US
dc.title การศึกษาการเปิดรับสารสนเทศเพื่อการศึกษาจากสื่อมวลชนไทย en_US
dc.title.alternative Study of mass media exposure for educational information in Thailand en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาเอก en_US
dc.degree.discipline เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Vachiraporn.A@Chula.ac.th
dc.email.advisor paitoon@dpu.ac.th, Paitoon.Si@chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2002.741


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record