DSpace Repository

รูปแบบปฏิสัมพันธ์ทางการเรียนผ่านเครือข่ายและเมตาคอคนิชั่นในการเรียนรู้ด้วยกรณีศึกษา ที่มีผลต่อการแก้ไขปัญหาในวิชาโครงงานอิเล็กทรอนิกส์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

Show simple item record

dc.contributor.advisor วชิราพร อัจฉริยโกศล
dc.contributor.advisor ผจงจิต อินทสุวรรณ
dc.contributor.author นาถวดี นันทาภินัย
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-05-01T06:48:41Z
dc.date.available 2020-05-01T06:48:41Z
dc.date.issued 2546
dc.identifier.isbn 9741757549
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65625
dc.description วิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 en_US
dc.description.abstract วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1) เพื่อศึกษาปฏิสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบปฏิสัมพันธ์ทางการเรียนผ่านเครือข่ายและเมตาคอคนิชั่นในการเรียนรู้ด้วยกรณีศึกษาที่มีต่อการแก้ปัญหา 2) เพื่อศึกษาผลของรูปแบบปฏิสัมพันธ์ทางการเรียนผ่านเครือข่ายในการเรียนรู้ด้วยกรณีศึกษาที่มีต่อการแก้ปัญหา 3) เพื่อ ศึกษาผลของเมตาคอคนิชั่นในการเรียนรู้ด้วยกรณีศึกษาที่มีต่อการแก้ปัญหากลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดลองได้จาการสุ่มเลือกนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จากโรงเรียนที่เปิดสอนวิชาโครงงานอิเล็กทรอนิกส์ และมีห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ที่มีระบบการเรียนผ่านเครือข่าย จำนวน 3 โรงเรียนเป็น 90 คน ประกอบด้วย กลุ่มนักเรียนที่มีเมตาคอคนิชั่นสูง กลางและตํ่า กลุ่มละ 30 คน นักเรียนแต่ละกลุ่มเมตาคอคนิชั่นได้รับการสุ่มเข้ากลุ่มทดลอง 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่มีปฏิสัมพันธ์ทางการเรียนผ่านเครือข่ายแบบผู้เรียนกับเนื้อหาและกลุ่มที่มีปฏิสัมพันธ์ทางการเรียนผ่านเครือข่ายแบบระหว่างผู้เรียนสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ Two way ANOVA ผลการวิจัยพบว่า 1 ) ไม่มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบปฏิสัมพันธ์ทางการเรียนผ่านเครือข่ายในการเรียนรู้ด้วยกรณีศึกษาที่มีต่อการแก้ปัญหาในวิชาโครงงานอิเล็กทรอนิกส์ 2) นักเรียนที่มีรูปแบบปฏิสัมพันธ์ทางการเรียนผ่านเครือข่ายต่างกันในการเรียนรู้ด้วยกรณีศึกษามีการแก้ปัญหาไม่แตกต่างกัน 3) นักเรียนที่มีเมตาคอคนิชั่นต่างกันเมื่อเรียนรู้ด้วยกรณีศึกษา มีการแก้ปัญหาแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยนักเรียนที่มีเมตาคอคนิชั่นสูงและปานกลางจะมีคะแนนการแก้ปัญหาสูงกว่านักเรียนที่มีเมตาคอคนิชั่นตํ่า
dc.description.abstractalternative The purposes of this research were to study 1) the interaction between types of network learning interctions and metacognition in case-based learning on electronics project subject upon problem solving 2) the effects of network learning interactions and metacognition in case - based learning upon problem solving. The sample groups were ninety Mathayom Suksa three students. They were devided into three level of metacognition : high : medium and low and randomly into two experimental groups. The experimental design was randomized block design. The statistic used was two-way ANOVA . The research findings were as follows : 1. There were no interaction between network learning interactions and metacognition upon problem solving at the level of .05. 2. There were significance difference upon problem solving of the students who have difference level of metacognition in case - based learning at the level of .05 3. There were no significance difference upon problem solving of the students who studied from network learning interaction in case based learning at the level of .05 4. The students who have high and medium level of metacognition had higher score of problem solving than the students who have low
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject กรณีศึกษา en_US
dc.subject เมตาคอคนิชัน en_US
dc.subject การเรียนการสอนผ่านเว็บ en_US
dc.subject การวิเคราะห์ปฏิสัมพันธ์ทางการศึกษา en_US
dc.subject การแก้ปัญหา en_US
dc.subject ปริญญาดุษฎีบัณฑิต en_US
dc.subject Case method en_US
dc.subject Metacognition en_US
dc.subject Interaction analysis in education en_US
dc.subject Problem solving en_US
dc.title รูปแบบปฏิสัมพันธ์ทางการเรียนผ่านเครือข่ายและเมตาคอคนิชั่นในการเรียนรู้ด้วยกรณีศึกษา ที่มีผลต่อการแก้ไขปัญหาในวิชาโครงงานอิเล็กทรอนิกส์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 en_US
dc.title.alternative Types of network learning interactions and metacognition in case-based learning on problem solving in electronic project subjects of mathayom suksa three students en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาเอก en_US
dc.degree.discipline เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Vachiraporn.A@Chula.ac.th
dc.email.advisor ไม่มีข้อมูล


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record