DSpace Repository

การพัฒนารูปแบบโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพเพื่อการนำไปสู่การพัฒนาสุขภาพที่ยั่งยืน

Show simple item record

dc.contributor.advisor ชนิตา รักษ์พลเมือง
dc.contributor.advisor เรณุมาศ มาอุ่น
dc.contributor.author นิภา ไชยรินคำ
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-05-17T18:54:17Z
dc.date.available 2020-05-17T18:54:17Z
dc.date.issued 2546
dc.identifier.issn 9741740913
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65827
dc.description วิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 en_US
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนาโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและศึกษาประสิทธิผลของรูปแบบโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ การวิจัย แบ่งเป็น 2 ระยะ ระยะที่ 1 เป็นการพัฒนารูปแบบโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพจากการดำเนินการ 4 ขั้นตอน ขั้นตอนแรกศึกษาแนวคิดการดำเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพจากเอกสารและสำรวจความคิดเห็นของผู้นิเทศงานโรงเรียนส่งเสริมที่ปฏิบัติงานใน 12 ศูนย์เขตและคณะกรรมการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ จำนวน 13 แห่ง หลังจากนั้นจึงยกร่างรูปแบบโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพและนำรูปแบบที่เสนอไปให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบเพื่อปรับปรุงอีกครั้งหนึ่ง ส่วนการวิจัยระยะที่ 2 เป็นการศึกษาประสิทธิผลของรูปแบบโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพที่พัฒนาขึ้นโดยการวิจัยเชิงทดลองในสถานการณ์จริงแบบมีกลุ่มทดลองกลุ่มเดียวมีการวัดผลก่อนและหลังการทดลองกับนักเรียนชั้นมัธยม 1-3 จำนวน 9+8 คน ครูจำนวน 19 คน และผู้ปกครองนักเรียนชั้นดักล่าว จำนวน 88 คน ที่โรงเรียนบ้านต๋อม จ.พะเยา ผู้วิจัยสร้างแบบวัดความรู้ ทัศนคติและพฤติกรรมสุขภาพเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลและเปรียบเทียบผล 3 ระยะ คือ ก่อนการทดลอง หลังการทดลองและติดตามวัดซ้ำการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติเชิงสัมพันธ์ส่วนข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ผู้วิจัยได้พัฒนารูปแบบโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพที่ใช้โรงเรียนเป็นฐานและมีผู้บริหารเป็นหลัก โรงเรียนดังกล่าวบริหารงานแบบมีส่วนร่วมทั้งจากภายในโรงเรียนและชุมชน มีการแต่งตั้งคณะกรรมการส่งเสรีมสุขภาพของโรงเรียนในลักษณะพหุภาคีโดยมีหน่วยงานหรือคณะบุคคลจากภายนอกมาร่วมเป็นกรรมการกับผู้แทนของโรงเรียน ครูของโรงเรียนได้รับการแต่งตั้งเป็นคณะกรรมการดำเนินงาน 4 คณะ เพื่อบริหารงานภายในโรงเรียนร่วมกับคณะผู้บริหาร การจัดกิจกรรมตาม 10 องค์ประกอบที่องค์การอนามัยโลกกำหนดเป็นไปตามสภาพปัญหาและความต้องการจำเป็นของโรงเรียน ผู้วิจัยเสนอกระบวนการคำเนินงานใน ขั้นก่อนเตรียมการ ขั้นเตรียมการและขั้นดำเนินการสำหรับโรงเรียนเพื่อการนำไปสู่การพัฒนาสุขภาพที่ยั่งยืน ผลการทดสอบประสิทธิผลของรูปแบบ พบว่า หลังการทดลองใช้รูปแบบและติดตามวัดซํ้าค่าคะแนนเฉลี่ยความรู้เรื่องสุขภาพ ทัศนคติต่อการส่งเสริมสุขภาพ และพฤติกรรมสุขภาพของนักเรียน ครู และผู้ปกครองนักเรียน สูงขึ้นกว่าก่อนการทดลองใช้รูปแบบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ p=.05
dc.description.abstractalternative This R&D study aimed to develop a model for health promoting school and test its effectiveness. Two phases of study were conducted. In the first phase, a model for health promoting school was developed from 4 steps beginning with a document study of concepts and guidelines on health promoting school management and an opinion survey of health promoting school supervisors in 12 centers and 13 health promoting school committees. A model was then proposed and expert judgement was utilized in order to revise the model. Its effectiveness was tested in the second phase. Field experiment research, using 1 group p-e-test post-test design, was conducted at Ban Tom school, Phayao Province where 98 Matayom 1-3 students, 88 parents, and 19 teachers participated in pre-test, post-test and repeated measures of health knowledge, attitude towards health promotion, and health behaviors. Questionnaires and tests were constructed by the researcher. Descriptive and correlated statistics were used to analyze the quantitative data while content analysis was employed for the qualitative data. The researcher developed an administrative control school-based management model. The school encouraged participation from both within school and community. A school health promoting committee, composed of school personnel, concerned organizations and individuals, were appointed as cooperative partners. In order to facilitate school administration, teachers were appointed in 4 working committees. The 10 health promoting activities, recognized as principles of WHO, would be organized in accordance with the real needs of school. The researcher proposed a three-step working process ; pre-preparation, preparation, and action, which should promote the school in their work towards sustainable health development. As for the model effectiveness, the experiment showed that students, their parents, and teachers attained higher average scores in post-test and repeated measures than in pre-test at the significant level of .05
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject การส่งเสริมสุขภาพ en_US
dc.subject โรงเรียน -- บริการส่งเสริมสุขภาพ en_US
dc.subject โรงเรียน -- การบริหาร en_US
dc.subject โครงการพัฒนาโรงเรียน en_US
dc.subject สุขศึกษา en_US
dc.subject Health promotion en_US
dc.subject Schools -- Health promotion services en_US
dc.subject School management and organization en_US
dc.subject School improvement programs en_US
dc.subject Health education en_US
dc.title การพัฒนารูปแบบโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพเพื่อการนำไปสู่การพัฒนาสุขภาพที่ยั่งยืน en_US
dc.title.alternative Development of a health promoting school model towards sustainable health development en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาเอก en_US
dc.degree.discipline พัฒนศึกษา en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Chanita.R@Chula.ac.th
dc.email.advisor ไม่มีข้อมูล


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record