DSpace Repository

การเปรียบเทียบพฤติกรรมความปลอดภัย ตามการรับรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ระหว่างกลุ่มนักเรียนที่มีเพศต่างกัน สังกัดคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในกรุงเทพมหานคร

Show simple item record

dc.contributor.advisor สุจิตรา สุคนธทรัพย์
dc.contributor.author ยุวพร วิศิษฎ์วัฒนกุล
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์
dc.coverage.spatial กรุงเทพมหานคร
dc.coverage.spatial Bangkok Metropolitan Administration
dc.date.accessioned 2020-06-09T17:20:28Z
dc.date.available 2020-06-09T17:20:28Z
dc.date.issued 2547
dc.identifier.issn 9745322385
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66259
dc.description วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 en_US
dc.description.abstract การวิจัยครังนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบพฤติกรรมความปลอดภัยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สังกัดคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในกรุงเทพมหานคร ตามตัวแปรเพศผู้วิจัยได้สร้างแบบสอบถามและส่งให้กลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สังกัดคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ในกรุงเทพมหานคร จำนวน 450 คน ได้รับแบบสอบถามฉบับสมบูรณ์คืนมา 433 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 96.22 ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าร้อยละค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานทดสอบค่าที ซึ่งกำหนดความมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ส่วนใหญ่มีการปฏิบัติตนด้านความปลอดภัยอยู่ในระดับการปฏิบัติดี แต่มีการปฏิบัติตนด้านความรุนแรงอยู่ในระดับปฏิบัติปานกลาง 2. นักเรียนชายและนักเรียนหญิงมีการปฏิบัติตนด้านความปลอดภัยทุกด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. นักเรียนหญิงมีการปฏิบัติตนด้านความปลอดภัยดีกว่านักเรียนชายทุกด้านอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แตกต่างกันทุกด้าน
dc.description.abstractalternative The purposes of this research were to study and compare the perceived safety behavior between male and female mathayomsuksa one students in schools under the Jurisdiction of the Office of the Basic Education Commission in Bangkok Metropolis. The constructed questionnaires were sent to 450 elementary school students in mathayomsuksa one. Four hundred and thirty-three accounting for 96.22 percent completed questionnaires were then returned. The data were then analyzed in terms of percentages, means, standard deviations. The t-tcst were also applied to determine the significant differences at .05 level. The results were as follows : 1. Most students perceived safety behaviors at good level but violent practicing behaviors were found at moderate level. 2. There were significant differences at .05 level in practicing safety behaviors in all areas between male and female students. 3. Female students were found better practicing safety behaviors in all areas than male students.
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2004.832
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject พฤติกรรมสุขภาพในวัยรุ่น en_US
dc.subject อุบัติเหตุ -- การป้องกัน en_US
dc.subject นักเรียนมัธยมศึกษา en_US
dc.subject กรุงเทพมหานคร en_US
dc.subject Health behavior in adolescence en_US
dc.subject Accidents -- Prevention en_US
dc.subject High school students en_US
dc.subject Bangkok Metropolitan Administration en_US
dc.title การเปรียบเทียบพฤติกรรมความปลอดภัย ตามการรับรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ระหว่างกลุ่มนักเรียนที่มีเพศต่างกัน สังกัดคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในกรุงเทพมหานคร en_US
dc.title.alternative Comparison of percieved safety behaviors between male and female mathayomsuksa one students in schools under the jurisdiction of the Office of the Basic Education Commission in Bangkok Metropolis en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name ครุศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline สุขศึกษา en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor suchitra.su@chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2004.832


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record