DSpace Repository

การศึกษาการจัดการชั้นเรียนของครูอนุบาลในกรุงเทพมหานคร

Show simple item record

dc.contributor.advisor พูนสุข บุณย์สวัสดิ์
dc.contributor.author อุทุมพร พรายอินทร์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-10-12T09:29:10Z
dc.date.available 2020-10-12T09:29:10Z
dc.date.issued 2542
dc.identifier.isbn 9743337067
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68551
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการจัดการชั้นเรียนของครูอนุบาลในกรุงเทพมหานคร ด้านการป้องกันปัญหาและการแก้ปัญหาพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม ตัวอย่างประชากรเป็นครูอนุบาล 350 คน จากโรงเรียนสาธิต โรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ โรงเรียนสังกัดสำนักงานการศึกษากรุงเทพมหานคร และโรงเรียนอนุบาลสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน ผลการวิจัยพบว่า 1. การจัดการชั้นเรียน ด้านการจัดสภาพห้องเรียน พบว่า ครูอนุบาล จัดบรรยากาศในชั้นเรียนมากที่สุด รองลงมา คือด้านวัสดุอุปกรณ์ และด้านการจัดพื้นที่ การจัดบรรยากาศในชั้นเรียน จัดให้มีความสัมพันธ์ที่เป็นมิตรระหว่างเด็ก ๆ การจัดวัสดุและอุปกรณ์มีการจัดวางอย่างมีระบบและอยู่ในระดับความสามารถของเด็กในการช่วยเหลือตนเอง 2. การจัดการชั้นเรียน ด้านการป้องกันปัญหาพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม พบว่า ครูอนุบาล ส่วนใหญ่ใช้การชมเชยเมื่อเด็กมีพฤติกรรมที่เหมาะสม และจัดกิจกรรมที่น่าสนใจ 3. การจัดการชั้นเรียน ด้านการแก้ปัญหาพฤติกรรมไม่เหมาะสม พบว่า ครูอนุบาลให้ความสำคัญและปฏิบัติโดยใช้วิธีการเตือนและการเปลี่ยนสภาพแวดล้อม โดยเข้าไปใกล้ ๆ เด็กให้รู้ตัว ทบทวนข้อตกลง และเพิ่มสิ่งที่ดึงดูดใจ
dc.description.abstractalternative The purpose of this research was to study classroom management of preschool teachers in Bangkok metropolis in preventing management problems and resolving problems. The research samples of 350 preschool teachers in Bangkok were randomly selected. The research findings were as follows: 1) Classroom management on the room organization: the preschool teachers were found to organize classroom climate the most by creating a positive interaction among children; next was the organization of a system for arranging equipment’s, materials, and utilization of space; and supporting children's ability to help themselves. 2) Classroom management on preventing misbehaviors: most preschool teachers were found to use praise when children exhibited appropriate behaviors and to arrange interesting activities. 3) Classroom management on resolving misbehaviors: preschool teachers were found to give an importance to practice by utilizing reprimand, environmental change, moving closer to the children, going over the classroom rules, and adding attractive materials.
dc.language.iso th
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
dc.subject การจัดการชั้นเรียน
dc.subject นักเรียนอนุบาล
dc.subject ครูอนุบาล
dc.subject การศึกษาขั้นอนุบาล
dc.title การศึกษาการจัดการชั้นเรียนของครูอนุบาลในกรุงเทพมหานคร
dc.title.alternative Study of classroom mamagement of preschool teachers in Bangkok metropolis
dc.type Thesis
dc.degree.name ครุศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การศึกษาปฐมวัย
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record