DSpace Repository

การพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีตามแนวคิดคอนสตรัคชั่นนิสต์สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

Show simple item record

dc.contributor.advisor ดวงเดือน อ่อนน่วม
dc.contributor.author นันทกา พึ่งเกษม
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์
dc.date.accessioned 2021-03-04T03:01:26Z
dc.date.available 2021-03-04T03:01:26Z
dc.date.issued 2543
dc.identifier.isbn 9741311273
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72566
dc.description วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 en_US
dc.description.abstract การวิจัยครั้งมีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีตามแนวคิดคอนสตรัคชั่นนิสต์ในด้านความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและความสามารถในการคิดเพื่อหาข้อสรุปในการแก้ปัญหา สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ขั้นตอนในการพัฒนาโปรแกรมประกอบด้วย ขั้นที่ 1 การสร้างโปรแกรมส่งเสริมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีตามแนวคิดคอนสตรัคชั่นนิสต์ ขั้นที่ 2 การทดลองใช้โปรแกรม และขั้นที่ 3 การปรับปรุงและการนำเสนอโปรแกรมตัวอย่างประชากร คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเทพสัมฤทธิ์วิทยา จำนวน 15 คน ข้อมูลที่ได้จากการพัฒนาโปรแกรมในชั้นที่ 2 นำมาวิเคราะห์โดยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบค่าที ผลการทดลองใช้โปรแกรม พบว่า 1. ค่าเฉลี่ยของคะแนนความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของนักเรียนสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ที่ร้อยละ 60 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ค่าเฉลี่ยของคะแนนความสามารถในการคิดเพื่อหาข้อสรุปในการแก้ปัญหาของนักเรียนหลังการเข้าร่วมโปรแกรมสูงกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนความสามารถในการคิดเพื่อหาข้อสรุปในการแก้ปัญหาของนักเรียนก่อนการเข้าร่วมโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ความคิดเห็นของนักเรียนประมาณ 80% เกี่ยวกับโปรแกรมอยู่ในระดับเหมาะสมมาก นอกนั้นอยู่ในระดับเหมาะสมปานกลาง โปรแกรมที่ได้ปรับปรุงแล้วและนำเสนอประกอบด้วย หลักการของโปรแกรม วัตถุประสงค์กลุ่มเป้าหมาย ลักษณะของโปรแกรม วิธีการจัดกิจกรรมในโปรแกรม สื่อส่งเสริมการเรียนรู้ เอกสารประกอบ การประเมินผลการเรียนรู้ และการประเมินผลโปรแกรม en_US
dc.description.abstractalternative The purpose of this study was to develop the program for enhancing science and technology learning through the Constructionist concept in science and technology knowledge and thinking ability to solve problems for Prathom Suksa Five students. Three stages of the program development were: 1) Developing the program for enhancing science and technology learning through the Constructionist concept, 2) Trying out the program, and 3) Improving and presenting the program. The subjects were 15 Prathom Suksa Five students in Teapsumritvidhaya School. The data from the second stage of the program development were analyzed by using arithmetic mean, standard deviation and t-test. The results were as follows: 1. The post - test arithmetic mean score of science and technology knowledge of the students was higher than 60 percent criterion at the .05 level of the significance. 2. The post - test arithmetic mean score of the thinking ability to solve problems of the students was higher than the pre - test at the .05 level of the significance. 3. Approximately 80% of students' opinion concerning the program was at the high appropriated level and the rest was at the moderate appropriated level. The revised and proposed program was consisted of program principle, objectives,target groups, program features, implementing procedures, learning materials, program documents, learning evaluation, and program evaluation. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject วิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา) en_US
dc.subject เทคโนโลยี -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา) en_US
dc.title การพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีตามแนวคิดคอนสตรัคชั่นนิสต์สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 en_US
dc.title.alternative A development of a program for enhancing science and technology learning for prathom suksa five students through the constructionist concept en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name ครุศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline ประถมศึกษา en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.other Duangduen.O@chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record