DSpace Repository

สภาพและความต้องการของครูศิลปศึกษา เกี่ยวกับการใช้หนังสือเรียนศิลปศึกษาในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร

Show simple item record

dc.contributor.advisor สันติ คุณประเสริฐ
dc.contributor.author จักรพงศ์ สิริริน
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์
dc.coverage.spatial กรุงเทพมหานคร
dc.date.accessioned 2021-03-15T03:47:39Z
dc.date.available 2021-03-15T03:47:39Z
dc.date.issued 2544
dc.identifier.isbn 9741705336
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72827
dc.description วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 en_US
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงศ์ เพี่อสำรวจ สภาพ และ ความต้องการของครูศิลปศึกษา เกี่ยวกับการใช้หนังสือเรียนศิลปศึกษา ในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร โดยใช้แบบสอบ ถามเป็นเครื่องมือในการวิจัย นำข้อมูลที่ได้จากการตอบแบบสอบถามมาวิเคราะห์หาค่าทางสถิติ คือ ค่าร้อยละ ค่ามัชฌิมเลขคณิต และ ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป MICROSOFT EXCEL แล้วนำเสนอข้อมูลในรูปตารางประกอบความเรียง ผลการวิจัยพบว่า สภาพและความต้องการของครูศิลปศึกษาเกี่ยวกับการใช้หนังสือเรียนศิลปศึกษาระดับชั้นประถมศึกษา 1.) ด้านวัตถุประสงค์ พบว่า ทั้งด้านสภาพและความต้องการอยู่ใน ระดับต้องการมาก ข้อที่ต้องการมากที่สุดคือ ส่งเสริมให้แสดงออกตามความลามารถ เน้นการปฏิบัติจริง 2.) ด้านเนื้อหาและกิจกรรม พบว่า ด้านสภาพอยู่ในระดับปานกลาง ต้านความต้องการอยู่ใน ระดับมาก ข้อที่ต้องการมากที่สุดคือ มีกิจกรรมปฏิบัติให้เสือกหลายรูปแบบ 3.) ด้านวิธีการสอน พบว่าด้านสภาพอยู่ในระดับปานกลาง ด้านความต้องการอยู่ในระดับมาก ข้อที่ต้องการมากที่สุดคือ ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นนักเรียนเป็นสำคัญ 4.) ด้านสื่อ พบว่า ด้านสภาพอยู่ในระดับปานกลาง ด้านความต้องการอยู่ในระดับมาก ข้อที่ต้องการมากที่สุดคือ ช่วยประหยัดเวลา เข้าใจเนื้อหาได้ง่าย 5.) ด้านการประเมินผล พบว่า ด้านสภาพอยู่ในระดับปานกลาง ด้านความต้องการอยู่ในระดับมาก ข้อที่ต้องการมากที่สุดคือ ส่งเสริมการประเมินผลโดยครูและนักเรียนร่วมกัน 6.) ด้านองค์ประกอบหนังสือเรียน พบว่า ด้านสภาพอยู่ในระดับปานกลาง ด้านความต้องการอยู่ในระดับมาก ข้อที่ต้องการมากที่ สุดคือ ภาพประกอบสัมพันธ์กับเนื้อหา เหมาะสม ชัดเจน สวยงาม และมีคำอธิบายรายละเอียดที่ถูกต้อง en_US
dc.description.abstractalternative The purpose of this research was to survey the state and needs of art education teachers concerning art education textbook usages in elementary schools under the Bangkok metropolitan administration. The obtained data were analyzed by the percentage, arithmetic means, and standard deviation by using the MICROSOFT EXCEL - analyzed program. Resulted data were presented in tables with description. It was found that 1.) Learning objectives: state is at high level, needs are at high level which snould emphasize on pupil’s individual ability and hand on activities 2.) Contents and activities: state is at moderated level, needs are at high level which variety of art activities should be provided 3.) Teaching and learning: state is at moderated level, needs are at high level which emphasized on student centered 4.) Media: state is at moderated level, needs are at high level which media can save time and create a better understanding of contents 5.) Evaluation methods: state is at moderated level, needs are at high level which evaluation teachers together with students should participate in the evaluation process 6.) Elements of art education textbook: state is at moderated level, needs are at high level which illustrations should support the content as well as the appropriateness, obvious, beauty and correct explanation. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2001.117
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject ครูศิลปศึกษา en_US
dc.subject ศิลปกรรม -- การศึกษาและการสอน en_US
dc.subject ศิลปกรรม -- แบบเรียน en_US
dc.title สภาพและความต้องการของครูศิลปศึกษา เกี่ยวกับการใช้หนังสือเรียนศิลปศึกษาในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร en_US
dc.title.alternative State and needs of art teachers concerning art education textbook usages in elementary schools under the Bangkok metropolitan administration en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name ครุศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline ศิลปศึกษา en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor ไม่มีข้อมูล
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2001.117


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record