DSpace Repository

อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยสัญญาซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศ : ศึกษาเฉพาะเรื่องการก่อให้เกิดสัญญา

Show simple item record

dc.contributor.advisor พิชัยศักดิ์ หรยางกูร
dc.contributor.author ประเสริฐ จรัญรัตนศรี
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์
dc.date.accessioned 2009-08-03T08:18:46Z
dc.date.available 2009-08-03T08:18:46Z
dc.date.issued 2542
dc.identifier.isbn 9743343512
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9505
dc.description วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 en
dc.description.abstract การศึกษาอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยสัญญาซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศ ได้ทำการศึกษาเฉพาะในส่วนที่ 2 ของอนุสัญญาฯ ว่าด้วยเรื่องการก่อให้เกิดสัญญา โดยเป็นการศึกษาทั้งในข้อกฎหมายและในการใช้บังคับกฎหมาย เปรียบเทียบกับกฎหมายไทยที่ใช้บังคับกับการก่อให้เกิดสัญญาซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศ ซึ่งได้แก่ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยเรื่อง นิติกรรมและสัญญา และเอกเทศสัญญาว่าด้วยเรื่องซื้อขาย จากการศึกษาพบว่าบทบัญญัติในเรื่องคำเสนอและคำสนองซึ่งเป็นการแสดงเจตนาที่จะก่อให้เกิดสัญญานั้นตามกฎหมายทั้งสองฉบับมีหลักกฎหมายส่วนใหญ่เหมือนกัน การที่ประเทศไทยจะเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาฯ ในประเด็นเรื่องการบอกเลิกคำเสนอที่กำหนดระยะเวลาให้ทำคำสนองนั้น กฎหมายไทยควรมีบทบัญญัติตามข้อบทของอนุสัญญาฯ เพราะจะทำให้ได้ประโยชน์จากบทบัญญัติของอนุสัญญาฯ มากกว่าที่จะบัญญัติกฎหมายไปในแนวทางใดแนวทางหนึ่งและในประเด็นเรื่องคำสนองที่มีข้อแก้ไขเปลี่ยนแปลงคำเสนอนั้น กฎหมายไทยก็ไม่ควรมีบทบัญญัติที่จะใช้บังคับในเรื่องนี้โดยตรง ทั้งนี้เนื่องจาก ทางออกของการใช้กฎหมายให้เกิดความยุติธรรมนั้นมีหลายทาง ดังนั้น การที่จะบัญญัติกฎหมายไปแนวทางใดแนวทางหนึ่งจะทำให้เกิดความไม่ยืดหยุ่นในการใช้บทบัญญัติของกฎหมาย en
dc.description.abstractalternative A studying on part II : Formation of Contract of the United Nations Conventionon Contracts for the International Sale of Goods which focuses onthe text and law enforcement in order to compare with Thai law applicable to the formation of contract in the international sale of goods, i.e. the Civil and Commercial Code ; particularly Juristic Acts, Contract and Sale. The result of this research is that most of the rules on offer and acceptance of the both laws are similar. Should Thailand want to be a member of the Convention, it should consider on the matter of revocation of an offer with time for acceptance and should enact a law similar to the provision of the Convention in order to take more advantage than to choose one way on the other. And on the issue of modifying acceptance. Thai law should not have provision for enforcing this matter directly, because there are many ways to achieve justice for parties. To enact law in one way or the other may rigidify the law enforcement. en
dc.format.extent 768501 bytes
dc.format.extent 1055187 bytes
dc.format.extent 1473545 bytes
dc.format.extent 1716807 bytes
dc.format.extent 942813 bytes
dc.format.extent 1159585 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.format.mimetype application/pdf
dc.format.mimetype application/pdf
dc.format.mimetype application/pdf
dc.format.mimetype application/pdf
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th es
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject สัญญาซื้อขายระหว่างประเทศ en
dc.subject อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยสัญญาซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศ ค.ศ.1980 en
dc.subject สัญญามาตรฐานทางการค้า en
dc.subject คำเสนอ -- สัญญา en
dc.subject คำสนอง -- สัญญา en
dc.subject ซื้อขาย -- สินค้าระหว่างประเทศ en
dc.title อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยสัญญาซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศ : ศึกษาเฉพาะเรื่องการก่อให้เกิดสัญญา en
dc.title.alternative United Nations Convention on Contracts for the International Sale of Goods : a study on formation of contracts en
dc.type Thesis es
dc.degree.name นิติศาสตรมหาบัณฑิต es
dc.degree.level ปริญญาโท es
dc.degree.discipline นิติศาสตร์ es
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.email.advisor Phijaisakdi.H@chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record