Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28343
Title: การศึกษาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการนิเทศการศึกษา ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรมอาชีวศึกษา กรุงเทพมหานคร
Other Titles: A study of knowledge and understanding the educational supervision of the institutional administrators under the jurisdiction of the Department of Vocational Education, Bangkok Metropolis
Authors: ลัลนา สาริมาน
Advisors: วไลรัตน์ บุญสวัสดิ์
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Issue Date: 2530
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความความเข้าใจ เกี่ยวกับการนิเทศการศึกษา ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรมอาชีวศึกษา ในกรุงเทพมหานคร วิธีดำเนินการวิจัย ประชากรที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย ผู้บริหาร จำนวน 243 คน เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถาม เกี่ยวกับความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการนิเทศการศึกษาแบบสอบถามที่ส่งไปได้รับคืนมาร้อยละ 89.00 เป็นแบบสอบถามที่สมบูรณ์ ร้อยละ 86.00 สรุปผลการวิจัย 1. ผู้บริหารส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 41-50 ปี มีระยะเวลาดำรง ตำแหน่งมากกว่า 16 ปี ขึ้นไปส่วนใหญ่ดำรงตำแหน่งหัวหน้าแผนกวิชา และประเภทวิชาที่ เปิดสอนมากคือ พาณิชยกรรม 2. ผู้บริหารมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการนิเทศการศึกษาในระดับมาก เรียงตามลำดับดังนี้ คุณลักษณะและคุณสมบัติของผู้นิเทศการศึกษา บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการนิเทศการศึกษา แผนงานโครงการและกิจกรรมทางการนิเทศการรักษา ความสำคัญ ความจำเป็น และความมุ่งหมายของการนิเทศการศึกษา ความหมายของการนิเทศการศึกษา งานนิเทศการศึกษา บทบาทหน้าของบุคลากรทางการนิเทศการศึกษา เทคนิควิธีการทางการนิเทศการศึกษา การประ เมินผลการนิเทศการศึกษา ทักษะในการนิ เทศการศึกษา และหลักการนิเทศการศึกษา กระบวนการทางการนิเทศการศึกษา
Other Abstract: Purpose of the Research: To study the knowledge and understanding concerning the educational supervision of the institutional administrators under the jurisdiction of the Department of Vocational Education, Bangkok Metropolis. Research Procedures: The population used in the research consisted of 243 institution administrators. A set of questionnaire was developed to collect the data concerning the knowledge and understandings about the educational supervision. Eighty-nine percent of the total questionnaire distributed were returned and; of these eighty-six percent of the questionnaire were completed. Research Findings : 1. Most of the institutional administrators are between forty-one to fifty years of age with 16 years of experience on their position. Most of them are heads of subject department. The most subject provided to student is commerce. 2. The knowledge and understandings of the educational supervision of the institution administrators was ranked at high level as the following orders; characteristics and qualifications of the supervisors, supervisory personnel, plans projects and activities of educational supervision, the importance and needs and objectives of educational supervision, the definitions of educational supervision, educational supervision tasks, the functions of the supervisors, techniques in supervising, supervision evaluation, skills in supervising, principles of supervision and process of supervision.
Description: วิทยานิพนธ์ (ค.ม.) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2530
Degree Name: ครุศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: บริหารการศึกษา
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28343
ISBN: 9745676926
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Lalana_sa_front.pdf9.36 MBAdobe PDFView/Open
Lalana_sa_ch1.pdf7.17 MBAdobe PDFView/Open
Lalana_sa_ch2.pdf29.41 MBAdobe PDFView/Open
Lalana_sa_ch3.pdf3.61 MBAdobe PDFView/Open
Lalana_sa_ch4.pdf26.68 MBAdobe PDFView/Open
Lalana_sa_ch5.pdf10.24 MBAdobe PDFView/Open
Lalana_sa_back.pdf20.32 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.