Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28996
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพีระ จิรโสภณ
dc.contributor.authorพจมาลย์ ลีละยูวะ
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2013-02-20T07:25:12Z
dc.date.available2013-02-20T07:25:12Z
dc.date.issued2532
dc.identifier.isbn9745760277
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28996
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2532en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมาย เพื่อศึกษาพฤติกรรมการเปิดรับสื่อมวลชนทั่วไป และพฤติกรรมการอ่านหนังสือพิมพ์ข่าวเกษตร เพี่อทราบแหล่งข่าวสารข้อมูลทางการเกษตร และเพื่อสำรวจความคิดเห็นและความต้องการที่มีต่อรูปแบบของหนังสือพิมพ์ข่าวเกษตร ของผู้อ่านหนังสือพิมพ์ข่าวเกษตร รวมทั้งเพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรด้าน เพศ อายุ ระดับการศึกษา รายไค้ อาชีพ การมีส่วนร่วมในสังคมและการมีตำแหน่งทางสังคม กับพฤติกรรมการ เปิดรับสื่อมวลชนทั่วไป และพฤติกรรมการอ่านหนังสือพิมพ์ข่าวเกษตร ผลการวิจัยพบว่า 1. วิทยุกระจายเสียงเป็นสื่อมวลชนที่ผู้อ่านหนังสือพิมพ์ข่าวเกษตร เปิดรับบ่อยครั้งที่สุด โดยส่วนใหญ่จะเปิดฟังที่บ้านของตนเองเกือบทุกวัน รายการที่ชอบฟังคือรายการข่าวและรายการเพื่อการเกษตร 2. ผู้อ่านหนังสือพิมพ์ข่าวเกษตร ส่วนใหญ่จะอ่านหนังสือพิมพ์ข่าวเกษตรปีละ1-5 ฉบับ (จากจำนวนที่เผยแพร่ 24 ฉบับ) โดยจะเลือกอ่านเพียงบางตอน เรื่องที่ชอบอ่านคือ บทความการเกษตรส่วนใหญ่มักจะไปอ่าน ณ ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจาหมู่บ้าน 3. แหล่งข่าวสารข้อมูลหลักทางการเกษตรของผู้อ่าน ได้แก่ เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร 4. ผู้อ่านเห็นว่าหนังสือพิมพ์ข่าวเกษตรที่จัดทำอยู่ขณะนี้มีขนาด ปริมาณ เนื้อหาสาระ ขนาดของตัวอักษรและกำหนดออกโดยส่วนรวมเหมาะสมดีแล้ว 5. ตัวแปรด้านเพศของผู้อ่านจะมีความสัมพันธ์กับการเปิดรับวิทยุโทรทัศน์ หนังสือพิมพ์รายวัน และภาพยนตร์ รวมทั้งปริมาณการอ่านหนังสือพิมพ์ข่าวเกษตร และความเชื่อถือของข่าวสาร 6. ตัวแปรด้านอายุจะมีความสัมพันธ์กับการเปิดรับหนังสือพิมพ์รายวัน และภาพยนตร์ 7. ตัวแปรด้านระดับการศึกษา จะมีความสัมพันธ์กับการเปิดรับสื่อวิทยุกระจายเสียง และนิตยสาร 8. ตัวแปรด้านรายไค้จะมีความสัมพันธ์กับการเปิดรับสื่อหนังสือพิมพ์รายวันรวมทั้งปริมาณการอ่านหนังสือพิมพ์ข่าวเกษตรและความเชื่อถือของข่าวสาร 9. ตัวแปรด้านอาชีพจะมีความสัมพันธ์กับการเปิดรับหนังสือพิมพ์รายวัน 10 . ตัวแปรด้านการมีส่วนร่วมในสังคม จะมีความสัมพันธ์กับการเปิดรับสื่อหนังสือพิมพ์รายวัน และนิตยสาร รวมทั้งปริมาณการการอ่านหนังสือพิมพ์ข่าวเกษตร 11. ตัวแปรด้านการมีตำแหน่งทางสังคมจะมีความสัมพันธ์กับการเปิดรับสื่อหนังสือพิมพ์รายวัน นิตยสาร และภาพยนตร์ รวมทั้งความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการอ่านหนังสือพิมพ์ข่าวเกษตร
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมาย เพื่อศึกษาพฤติกรรมการเปิดรับสื่อมวลชนทั่วไป และพฤติกรรมการอ่านหนังสือพิมพ์ข่าวเกษตร เพี่อทราบแหล่งข่าวสารข้อมูลทางการเกษตร และเพื่อสำรวจความคิดเห็นและความต้องการที่มีต่อรูปแบบของหนังสือพิมพ์ข่าวเกษตร ของผู้อ่านหนังสือพิมพ์ข่าวเกษตร รวมทั้งเพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรด้าน เพศ อายุ ระดับการศึกษา รายไค้ อาชีพ การมีส่วนร่วมในสังคมและการมีตำแหน่งทางสังคม กับพฤติกรรมการ เปิดรับสื่อมวลชนทั่วไป และพฤติกรรมการอ่านหนังสือพิมพ์ข่าวเกษตร ผลการวิจัยพบว่า 1. วิทยุกระจายเสียงเป็นสื่อมวลชนที่ผู้อ่านหนังสือพิมพ์ข่าวเกษตร เปิดรับบ่อยครั้งที่สุด โดยส่วนใหญ่จะเปิดฟังที่บ้านของตนเองเกือบทุกวัน รายการที่ชอบฟังคือรายการข่าวและรายการเพื่อการเกษตร 2. ผู้อ่านหนังสือพิมพ์ข่าวเกษตร ส่วนใหญ่จะอ่านหนังสือพิมพ์ข่าวเกษตรปีละ1-5 ฉบับ (จากจำนวนที่เผยแพร่ 24 ฉบับ) โดยจะเลือกอ่านเพียงบางตอน เรื่องที่ชอบอ่านคือ บทความการเกษตรส่วนใหญ่มักจะไปอ่าน ณ ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจาหมู่บ้าน 3. แหล่งข่าวสารข้อมูลหลักทางการเกษตรของผู้อ่าน ได้แก่ เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร 4. ผู้อ่านเห็นว่าหนังสือพิมพ์ข่าวเกษตรที่จัดทำอยู่ขณะนี้มีขนาด ปริมาณ เนื้อหาสาระ ขนาดของตัวอักษรและกำหนดออกโดยส่วนรวมเหมาะสมดีแล้ว 5. ตัวแปรด้านเพศของผู้อ่านจะมีความสัมพันธ์กับการเปิดรับวิทยุโทรทัศน์ หนังสือพิมพ์รายวัน และภาพยนตร์ รวมทั้งปริมาณการอ่านหนังสือพิมพ์ข่าวเกษตร และความเชื่อถือของข่าวสาร 6. ตัวแปรด้านอายุจะมีความสัมพันธ์กับการเปิดรับหนังสือพิมพ์รายวัน และภาพยนตร์ 7. ตัวแปรด้านระดับการศึกษา จะมีความสัมพันธ์กับการเปิดรับสื่อวิทยุกระจายเสียง และนิตยสาร 8. ตัวแปรด้านรายไค้จะมีความสัมพันธ์กับการเปิดรับสื่อหนังสือพิมพ์รายวันรวมทั้งปริมาณการอ่านหนังสือพิมพ์ข่าวเกษตรและความเชื่อถือของข่าวสาร 9. ตัวแปรด้านอาชีพจะมีความสัมพันธ์กับการเปิดรับหนังสือพิมพ์รายวัน 10 . ตัวแปรด้านการมีส่วนร่วมในสังคม จะมีความสัมพันธ์กับการเปิดรับสื่อหนังสือพิมพ์รายวัน และนิตยสาร รวมทั้งปริมาณการการอ่านหนังสือพิมพ์ข่าวเกษตร 11. ตัวแปรด้านการมีตำแหน่งทางสังคมจะมีความสัมพันธ์กับการเปิดรับสื่อหนังสือพิมพ์รายวัน นิตยสาร และภาพยนตร์ รวมทั้งความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการอ่านหนังสือพิมพ์ข่าวเกษตร
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study are: (1) to investigate the mass media exposure and newspaper reading behavior among readers of "Kao Kaset" newspaper (agricultural newspaper); (2) to determine their agricultural information sources; (3) to examine their opinion and demand on the "Kao Kaset" newspaper; and (4) to test the relationship among seven variables: sex, age, educational level, income, occupation, social participation and social leadership of the readers with their information reception behavior and reading behavior. The results of the study are as follows: (1) In receiving of information, radio plays the most vital role among "Kao Kaset" readers. The readers listen to the radio in their own home almost every day. News and agricultural programs are their favorite programs; (2) Most of the "Kao Kaset" readers read 1-5 copies of the "Kao Kaset" fortnightly newspaper in one-year period. Their most frequent reading place is at the village newspaper reading place. They usually read only some parts of the paper and mostly read agricultural articles; (3) Their primary agricultural information source is agricultural extension officers; (4) Most of the "Kao Kaset" readers agree that the paper's size, format, content and the issuing date are appropriate; (5) Readers' sex significantly correlates with radio, television, newspaper and cinema exposure, the amount of reading in "Kao Kaset" newspaper and the paper's credibility; Readers' age significantly correlates with newspaper and cinema exposure; Readers' educational level significantly correlates with radio and magazine exposure; (8) Readers' income significantly correlates with newspaper exposure, the amount of reading in "Kao Kaset" newspaper and the paper's credibility; (9) Readers' occupation significantly correlates with newspaper exposure; (10) Reader's social participation significantly correlates with newspaper and magazine exposure, the amount of reading in "Kao Kaset" newspaper and the opinion about the benefit from reading "Kao Kaset"; and (11) Readers' social leadership significantly correlates with newspaper, magazine and cinema exposure and the opinion about the benefit from reading "Kao Kaset"
dc.format.extent4030253 bytes
dc.format.extent3663506 bytes
dc.format.extent13244724 bytes
dc.format.extent2683004 bytes
dc.format.extent24344663 bytes
dc.format.extent10117585 bytes
dc.format.extent12542721 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleพฤติกรรมการรับข่าวสารของผู้อ่านหนังสือพิมพ์ข่าวเกษตรen
dc.title.alternativeInformation reception behavior among readers of "Kao Kaset" newspaperen
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการประชาสัมพันธ์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pojamaln_le_front.pdf3.94 MBAdobe PDFView/Open
Pojamaln_le_ch1.pdf3.58 MBAdobe PDFView/Open
Pojamaln_le_ch2.pdf12.93 MBAdobe PDFView/Open
Pojamaln_le_ch3.pdf2.62 MBAdobe PDFView/Open
Pojamaln_le_ch4.pdf23.77 MBAdobe PDFView/Open
Pojamaln_le_ch5.pdf9.88 MBAdobe PDFView/Open
Pojamaln_le_back.pdf12.25 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.