Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29726
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พัชนี เชยจรรยา | |
dc.contributor.author | อมรา สาธรสันติกุล | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | |
dc.date.accessioned | 2013-03-13T06:31:32Z | |
dc.date.available | 2013-03-13T06:31:32Z | |
dc.date.issued | 2533 | |
dc.identifier.isbn | 9745773883 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29726 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลับ, 2533 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานภาพการทำงานและความพึงพอใจในการทำงานของมหาบัณฑิตนิเทศศาสตรพัฒนาการ ตั้งแต่รุ่นที่สำเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2523-2531 จำนวน 113 คน ผลการวิจัยพบว่า มหาบัณฑิตส่วนใหญ่เป็นหญิง มีอายุระหว่าง 31-40 ปี อาชีพรับราชการร้อยละ 17.4 และสังกัดกระทรวงศึกษาธิการมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 24.2 และสังกัดทบวงมหาวิทยาลัย รองลงมาใกล้เคียงกันคือ ร้อยละ 22.3 มหาบัณฑิตสำเร็จการศึกษามากที่สุดในปี 2525 น้อยที่สุดในปีการศึกษา 2529 ใช้เวลาในการศึกษา 2-3 ปี เป็นส่วนมาก สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรีจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมากที่สุด ร้อยละ 33.6 และส่วนใหญ่มีงานทำก่อนเข้าศึกษาในระดับปริญญาโท ร้อยละ 81.1 ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ส่วนใหญ่จะทำหน้าที่สอน มีอายุการทำงาน 11 ปีขึ้นไป ส่วนใหญ่ทำงานตรงกับสาขาวิชาที่เรียนมา มีส่วนน้อยเพียงร้อยละ 7.07 ที่ได้ศึกษาต่อหรือศึกษาเพิ่มเติม ส่วนใหญ่ได้ไปอบรมดูงาน ทั้งในและต่างประเทศ และนอกจากงานประจำแล้วยังมีผลงานวิชาการคือให้บริการทางวิชาการโดยเป็นวิทยากรเป็นส่วนใหญ่ มีปัญหาในการปฏิบัติงานด้านขาดแคลนบุคลากรหรือผู้ร่วมงานที่แข็งขันมากที่สุด รองลงมาคือขาดแคลนวัสดุอุปกรณ์ ความพึงพอใจในการทำงานของมหาบัณฑิตอยู่ในระดับมากมี 2 ด้านคือ ด้านการใช้ความรู้จากประสบการณ์ในการทำงานและด้านสัมฤทธิผล ส่วนความพึงพอใจด้านความก้าวหน้า และด้านการได้ใช้ความรู้จากการศึกษาในการทำงานอยู่ในระดับปานกลาง แต่โดยสรุปความพึงพอใจในการทำงานโดยส่วนรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจในการทำงานของมหาบัณฑิตที่มีปัจจัยประชากรแตกต่างกัน ดังนี้คือ เพศ,อายุ, อาชีพ, อายุการทำงาน, การได้ทำงานตรงกับไม่ตรงกับสาขาวิชาที่เรียนมา, การได้ปอบรมดูงานกับไม่ได้ไปอบรมดูงาน แล้วไม่พบความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนการเปรียบเทียบความพึงพอใจในการทำงานของมหาบัณฑิตตามลักษณะการทำงานที่แตกต่างกันนั้น พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ในกลุ่มดังนี้คือ กลุ่มที่ทำงานผลิตสื่อกับไม่ได้ผลิตสื่อ, กลุ่มที่ได้สอนกับไม่ได้สอน, กลุ่มที่ทำงานบริหารกับไม่ได้ทำงานบริหาร, กลุ่มที่ทำงานวิจัยกับไม่ได้ทำงานวิจัย ส่วนกลุ่มที่ทำงานบริการวิชาการกับไม่ได้ทำงานบริการวิชาการ ไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | |
dc.description.abstractalternative | The objective of this research is to study the working status of the 113 graduates in Development Communication Graduate Programme during the academic year 1980-198. The research shows that most of the sampling graduates are female, between 31-40 years of age. They are mainly government officials, working as teachers, and 17.4% are attached to the Department of Teacher Education, and 24.2% are attached to the Ministry of Education. The highest governmental rank is level 10 and the lowest is level 3. Most of them graduated in the academic year 1982. The least number graduated in the academic year 1986. They spent studying 2-3 years. 33.6% graduated from C.U. with a Bachelor degree and 81.1% worked while studying. Most of them working as teachers and have had at least 11 years of teaching experience. For the most part, they are working in area related to their field of studies. Very few of them about 7.07% have pursued a higher degree, but most of them have had the opportunity for training programme either in or outside of the country. In addition to their routine work, they have worked in the area of academic services as resource persons. The main problems experienced in working are the lack of qualified and efficient colleagues, and the lack of materials and equipment. A high level of graduate satisfaction is found in two main areas : Application of experience in work and work achievement. A moderate level of satisfaction is found in professional advancement and the application of the knowledge gained from their studies. In general, it is concluded that the work satisfaction of the graduates in moderate. When comparing the physical factor of working satisfaction in terms of sex, age, profession, lengh of work experience, relationship between work and field of study, and opportunity to attend training programmes and observation tours, it is found that there is no significant difference at .05 level. However, when comparing work satisfaction among those working in media production, teaching, administration and research with those not working in the four mentioned fields, it is found that there is a significant difference at .05 level. For those working in field of academic services, no significant difference was found at .05 level. | |
dc.format.extent | 5571013 bytes | |
dc.format.extent | 2936193 bytes | |
dc.format.extent | 20798158 bytes | |
dc.format.extent | 2294906 bytes | |
dc.format.extent | 14002361 bytes | |
dc.format.extent | 5520528 bytes | |
dc.format.extent | 16995715 bytes | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | การศึกษาสถานภาพการทำงานและความพึงพอใจในการทำงาน ของมหาบัณฑิตนิเทศศาสตร์พัฒนาการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title.alternative | The study of working status and satisfaction of the graduates in development communication graduate programme at Chulalongkorn University | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | การประชาสัมพันธ์ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Amra_sa_front.pdf | 5.44 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Amra_sa_ch1.pdf | 2.87 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Amra_sa_ch2.pdf | 20.31 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Amra_sa_ch3.pdf | 2.24 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Amra_sa_ch4.pdf | 13.67 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Amra_sa_ch5.pdf | 5.39 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Amra_sa_back.pdf | 16.6 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.