Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30945
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ยุบล เบ็ญจรงค์กิจ | - |
dc.contributor.author | ไพฑูรย์ มากสุข | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2013-05-16T03:23:17Z | - |
dc.date.available | 2013-05-16T03:23:17Z | - |
dc.date.issued | 2535 | - |
dc.identifier.isbn | 9745815403 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30945 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2535 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาสภาพการดำเนินงานประชาสัมพันธ์ของคณะกรรมการประชาสัมพันธ์สำนักงานการประถมศึกษาจังหวัด ในด้านการเผยแพร่ข่าวสารในวารสารประชาสัมพันธ์ภายในของแต่ละจังหวัดทั่วประเทศตลอดจนศึกษาวิเคราะห์รูปแบบ เนื้อหา ข่าวสารที่เผยแพร่ในวารสารประชาสัมพันธ์ภายในถึงความสอดคล้องตามแนวนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาคือ ผู้บริหารในสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัด ซึ่งมีความรับผิดชอบงานประชาสัมพันธ์ในฐานะของคณะกรรมการประชาสัมพันธ์ของแต่ละจังหวัดพร้อมทั้งศึกษาวิเคราะห์วารสารประชาสัมพันธ์ภายในที่ผลิตออกเผยแพร่ ผลการวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ส่วน กล่าวคือ ส่วนที่ 1 การวิเคราะห์รูปแบบบและเนื้อหาของวารสารประชาสัมพันธ์ภายใน ซึ่งส่วนใหญ่มีรูปแบบที่ต่างกันออกไป ประกอบด้วย วารสารในลักษณะของหนังสือพิมพ์ นิตยสาร จดหมายข่าว และเอกสารแผ่นปลิว ประเภทของเนื้อหา แบ่งได้เป็น 7 ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่ ข่าว-ภาพ คอลัมน์ บทความ บทประพันธ์ บทกวี การ์ตูนขำขัน และบทโฆษณา ส่วนที่ 2 สำรวจความคิดเห็นของคณะกรรมการประชาสัมพันธ์ พบว่าส่วนใหญ่คณะกรรมการซึ่งดำรงตำแหน่งต่างๆ มีบทบาทในการดำเนินงานประชาสัมพันธ์น้อยมาก นอกจากผู้ที่มีส่วนรับผิดชอบงานประชาสัมพันธ์โดยตรง คือ ผู้บริหารระดับสูง และผู้ปฏิบัติงานประชาสัมพันธ์คือ นักประชาสัมพันธ์ คณะกรรมการประชาสัมพันธ์มีความตระหนักถึงความสำคัญของงานประชาสัมพันธ์ไม่แตกต่างกัน ปัญหางานประชาสัมพันธ์ทุกจังหวัด ประสบปัญหาไม่ต่างกันคือ ขาดงบประมาณ ขาดเครื่องมือ และขาดบุคลากร จากสภาพโดยทั่วไปการดำเนินงานประชาสัมพันธ์ของคณะกรรมการประชาสัมพันธ์จังหวัดยังขาดการประสานงานที่ดี และวารสารประชาสัมพันธ์ภายในไม่สามารถเผยแพร่ข่าวสารตามแนวทางนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการประถมศึกษาแห่งชาติที่วางไว้เท่าที่ควร | - |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research are to study public relations practice of the Public Relations Commission of the Office of Provincial Education in terms of publicizing information in Inhouse Journal of each province in the country, to analyze the form, content, information in the journal in accordance with the policy of the Office of the Board of National Primary Education. The sample group of study is the executives of the Office of Provincial Education in charge of public relations as the Board of Public Relations of each province, and to analyze the Inhouse Journal. Results of this research are as follows: Part I 1. Inhouse journals published by different educational districts were in different formats namely newspaper, magazine, newsletter and leaflet. 2. Inhouse journals contained 7 types of information namely news, photo-news, column, article, comics, fiction and poem, and advertisement. Part II 1. Most Public Relations Commissioners took only limited part in public relations practice except for the officers directly in charge of public relations. 2. Most Public Relations Commissioners were aware of public relations' salience. 3. Each educational district faced similar problems in public relations practice. Problems were limitation of budget, equipment and personnel. Public Relations Commissioners lacked effective coordination. | - |
dc.format.extent | 1456614 bytes | - |
dc.format.extent | 1215354 bytes | - |
dc.format.extent | 2746001 bytes | - |
dc.format.extent | 1170472 bytes | - |
dc.format.extent | 5365995 bytes | - |
dc.format.extent | 1491740 bytes | - |
dc.format.extent | 1218865 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | บทบาทของคณะกรรมการประชาสัมพันธ์สำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดที่มีต่อการกำหนดวาระในวารสารการประชาสัมพันธ์ ภายใน | en |
dc.title.alternative | The role of Public Relations Commission of the Office of Provincial Primary Education of agenda setting in house journals | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | การประชาสัมพันธ์ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Paitoon_ma_front.pdf | 1.42 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Paitoon_ma_ch1.pdf | 1.19 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Paitoon_ma_ch2.pdf | 2.68 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Paitoon_ma_ch3.pdf | 1.14 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Paitoon_ma_ch4.pdf | 5.24 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Paitoon_ma_ch5.pdf | 1.46 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Paitoon_ma_back.pdf | 1.19 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.