Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44170
Title: อิทธิพลของการกำกับอารมณ์โดยวิธีทางปัญญาต่อปัญหาสุขภาพจิตโดยควบคุมอิทธิพลของความเข้มแข็งอดทน
Other Titles: The effect of cognitive emotion regulation on predicting mental health concerns : controlling the effect of hardiness
Authors: ณัฐนันท์ มั่นคง
ภูมินาถ จตุรเมธานนท์
อุษณิษา ชัยรัตน์ประเสริฐ
Advisors: สักกพัฒน์ งามเอก
สุภลัคน์ ลวดลาย
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา
Advisor's Email: ไม่มีข้อมูล
ไม่มีข้อมูล
Subjects: การควบคุมตนเอง
ความซึมเศร้า
ความวิตกกังวล
ความเครียด (จิตวิทยา)
สุขภาพจิต
การปรับตัว (จิตวิทยา)
Self-control
Depression
Anxiety
Stress (Psychology)
Adjustment (Psychology)
Mental health
Issue Date: 2556
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยครั้งนี้มุ่งศึกษาอิทธิพลของการกับอารมณ์โดยวิธีทางปัญญาที่มีต่อปัญหาสุขภาพจิต โดยควบคุมตัวแปรความเข้มแข็งอดทน กลุ่มตัวอย่างได้แก่ นิสิตนักศึกษาจำนวน 171 คน เป็นเพศชาย 84 คน และเพศหญิง 87 คน ใช้มาตรวัดความเข้มแข็งอดทน มาตรวัดการกำกับอารมณ์โดยวิธีทางปัญญา และมาตรวัดความซึมเศร้า ความวิตกกังวล ความเครียด ผลการวิจัยพบว่า 1. เมื่อควบคุมอิทธิพลของความเข้มแข็งอดทน การกำกับอารมณ์โดยวิธีทางปัญญารูปแบบที่เหมาะสม มีเพียงการไตร่ตรองวางแผนที่มีอิทธิพลต่อความซึมเศร้า และการคิดถึงด้านดีที่มีอิทธิพลต่อความเครียด โดยทั้งสองวิธีมีอิทธิพลในทิศทางลบ 2. เมื่อควบคุมอิทธิพลของความเข้มแข็งอดทน การกำกับอารมณ์โดยวิธีทางปัญญารูปแบบที่ไม่เหมาะสม วิธีที่มีอิทธิพลต่อทั้งความซึมเศร้า ความวิตกกังวล และความเครียด คือ การคิดในแง่ร้าย วิธีที่มีอิทธิพลต่อความซึมเศร้าและความเครียด คือ การหมกมุ่นครุ่นคิด และวิธีที่มีอิทธิพลต่อความซึมเศร้าเพียงอย่างเดียว คือ การโทษตนเอง โดยทุกวิธีมีอิทธิพลในทิศทางบวก
Other Abstract: The purpose of this research is to study the predictive roles of cognitive emotion regulation strategies on mental health concerns, controlling for the effects of hardiness. Participants were 171 undergraduate students, 84 males and 87 females, completing measures of hardiness, cognitive emotion regulation strategies, and depression anxiety and stress. The results are as follows: 1. Among three adaptive strategies, refocus on planning had a negative relationship with depression, and positive reappraisal had a negative relationship with stress. 2. Among four maladaptive strategies, catastrophizing had positive associations with all three mental health indicators. In addition, rumination was positively associated with depression and stress, so was self-blame with depression.
Description: โครงงานทางจิตวิทยานี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2556
A senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science in Psychology, Faculty of Psychology, Chulalongkorn University, Academic year 2013
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44170
Type: Senior Project
Appears in Collections:Psy - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
nattanan_mo.pdf951.22 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.