Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46531
Title: | อิทธิพลของการกำกับการแสดงออกของตนและการพร่องในการควบคุมตนต่อการคล้อยตามสิ่งชี้นำในกระบวนการซักถาม |
Other Titles: | EFFECTS OF SELF-MONITORING AND EGO-DEPLETION ON INTERROGATIVE SUGGESTIBILITY |
Authors: | ธนัชพร วุฒิพงศ์ |
Advisors: | อภิชญา ไชยวุฒิกรณ์วานิช |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา |
Advisor's Email: | Apitchaya.C@chula.ac.th, |
Subjects: | การคล้อยตาม การแสดงออก (จิตวิทยา) จิตวิทยาสังคม Conformity Assertiveness (Psychology) Social psychology |
Issue Date: | 2557 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของการกำกับการแสดงออกของตนและการพร่องในการควบคุมตนต่อการคล้อยตามสิ่งชี้นำในกระบวนการซักถาม ผู้ร่วมการทดลองเป็นนิสิตปริญญาตรี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำนวน 68 คน ซึ่งถูกสุ่มเข้าเงื่อนไขการพร่องในการควบคุมตนและการไม่พร่องในการควบคุมตน จากนั้นจึงถามคำถามชี้นำจากมาตรวัดการคล้อยตามสิ่งชี้นำในกระบวนการซักถาม ผลการวิจัยพบว่า 1. การกำกับการแสดงออกของตนไม่มีอิทธิพลต่อการคล้อยตามสิ่งชี้นำในกระบวนการซักถาม 2. ผู้ที่มีการพร่องในการควบคุมตนมีคะแนนการคล้อยตามสิ่งชี้นำมากกว่าผู้ที่ไม่พร่องในการควบคุมตน 3. ไม่พบปฏิสัมพันธ์ระหว่างการกำกับการแสดงออกของตนและการพร่องในการควบคุมตนต่อการคล้อยตามสิ่งชี้นำในกระบวนการซักถาม |
Other Abstract: | The purpose of this study was to examine the effects of self-monitoring and ego-depletion on interrogative suggestibility. Sixty-eight Chulalongkorn University undergraduate students were randomly assigned into ego-depletion conditions. Finally the participants were given the leading questions from the interrogative suggestibility scale. Results show that: 1. There are no effects found in self-monitoring on interrogative suggestiblity. 2. The participants in high ego-depletion condition have significantly higher suggestibility (Yield1, Yield2, Shift and Total suggestibility) than the participants in low ego-depletion condition. 3. There is no significant interaction between self-monitoring and ego-depletion on interrogative suggestibility. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557 |
Degree Name: | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | จิตวิทยา |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46531 |
URI: | http://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1297 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.14457/CU.the.2014.1297 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Psy - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5577609938.pdf | 1.74 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.