Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65543
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศุภลักษณ์ พินิจภูวดล-
dc.contributor.authorธวัชชัย ว่องพรรณงาม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-04-25T17:21:28Z-
dc.date.available2020-04-25T17:21:28Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.issn9741716567-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65543-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิวัฒนาการการระงับข้อพิพาททางภาษีอากรที่มีอย่างต่อเนื่องนับตั้งแต่ในอดีตจนกระทั่งถึงปัจจุบัน เพื่อหาคำตอบเกี่ยวกับพัฒนาการของการระงับข้อพิพาททางภาษีอากรของไทย จากการศึกษาพบว่า พัฒนาการอย่างต่อเนื่องของการระงับข้อพิพาททางภาษีอากรของไทยมีกระบวนวิธีการระงับข้อพิพาทซึ่งสามารถแบ่งเป็นสองช่วง ช่วงแรก เป็นการระงับข้อพิพาททางภาษีอากรในสมัยสมบูรณา ญาสิทธิราชย์ ซึ่งมีกระบวนการระงับข้อพิพาทโดยแบ่งได้สองขั้นตอน คือ ขั้นตอนแรกเป็นการระงับข้อพิพาทด้วยวิธีเสนอคำฟ้องต่อศาล โดยผู้เสียภาษีที่ต้องการโต้แย้งการจัดเก็บภาษีของผู้มีหน้าที่จัดเก็บภาษีอากรต้องเสนอคำฟ้องต่อศาลเพื่อวินิจฉัยชี้ขาดก่อน เมื่อศาลวินิจฉัยชี้ขาดแล้ว หากผู้เสียภาษีเห็นว่าตนไม่ได้รับความยุติธรรมก็สามารถกล่าวโทษผู้พิพากษาต่อพระมหากษัตริย์โดยวิธีการทูลเกล้าฯ ถวายฎีกาเป็นลำดับถัดมา อย่างไรก็ดี นับตั้งแต่รัชสมัย พระบาทลมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา กระบวนการระงับข้อพิพาททางภาษีอากรโดยวิธีทูลเกล้าฯ ถวายฎีกามีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม กล่าวคือ ผู้เสียภาษีสามารถกล่าวโทษเจ้าพนักงานผู้จัดเก็บภาษีอากรต่อ พระมหากษัตริย์ได้ทันทีโดยผู้เสียภาษีไม่จำต้องดำเนินการผ่านขั้นตอนฟ้องร้องต่อศาลก่อน ช่วงที่สอง เป็นการระงับข้อพิพาททางภาษีอากรในระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย (นับตั้งแต่เปลี่ยนแปลงการปกครอง) สามารถแบ่งขั้นตอนการระงับข้อพิพาทเป็นลองขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนการอุทธรณ์คำสั่งประเมินภาษีอากรต่อองค์กรฝ่ายบริหาร เช่น การอุทธรณ์ต่อผู้ว่าราชการจังหวัด หรืออธิบดีกรมสรรพากร หรือคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ ซึ่งเป็นขั้นตอนการคุ้มครองสิทธิผู้เสียภาษีในเชิงแก้ไขภายในฝ่ายบริหาร (ฝ่ายปกครอง) ภายหลังองค์กรฝ่ายบริหารมีคำวินิจฉัยอุทธรณ์แล้วหากผู้อุทธรณ์ไม่พอใจคำวินิจฉัยดังกล่าวสามารถอุทธรณ์คำวินิจฉัยต่อองค์กรตุลาการได้ ซึ่งในอดีตองค์กรตุลาการที่มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีภาษีอากรได้แก่ศาลยุติธรรมทั่วไป แต่ปัจจุบันได้แก่ศาลภาษีอากร-
dc.description.abstractalternativeThis study intends to look in to the development of settlement of tax disputes through the history to look for a better solution for tax dispute settlement. The study indicates that the settlement of tax disputes of Thailand can be broken down in to two eras. In the monarchical era, the settlement was done at two levels. The first one is to submit the dispute to the court whereby the taxpayer challenged the tax collection of the tax collector. Once the court have ruled he might submit a petition to the King if he perceived that he was not given a justice ruling. Later on since the reign of King Rama the Fifth, onward the petition process was changed i.e. the taxpayer could charge the tax collector without going to the court. In the second era under democratic government, the settlement of tax disputes can be divided in to two steps. First is the appeal against the administrative organization like the prefect, the Director General, or the Board of Appeal. The last one is the step for protecting the taxpayer through a remedy done by the administration. Once the ruling on the appeal was handed down the taxpayer can submit a plaint to the judicial courts, at one time the general judicial courts handled the tax disputes. Now a day it is the duty of the tax court.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectภาษีen_US
dc.subjectอากรen_US
dc.subjectการระงับข้อพิพาทen_US
dc.subjectTaxationen_US
dc.subjectDispute resolution (Law)en_US
dc.titleพัฒนาการการระงับข้อพิพาทภาษีอากรen_US
dc.title.alternativeThe development of tax dispute's settlementen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSupalak.P@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Law - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thawatchai_wo_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ781.97 kBAdobe PDFView/Open
Thawatchai_wo_ch1_p.pdfบทที่ 1654.22 kBAdobe PDFView/Open
Thawatchai_wo_ch2_p.pdfบทที่ 21.66 MBAdobe PDFView/Open
Thawatchai_wo_ch3_p.pdfบทที่ 31.37 MBAdobe PDFView/Open
Thawatchai_wo_ch4_p.pdfบทที่ 41.03 MBAdobe PDFView/Open
Thawatchai_wo_ch5_p.pdfบทที่ 53.38 MBAdobe PDFView/Open
Thawatchai_wo_ch6_p.pdfบทที่ 6838.64 kBAdobe PDFView/Open
Thawatchai_wo_back_p.pdfรายการอ้างอิง และภาคผนวก832.62 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.