Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65845
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดุษฎี ชาญลิขิต-
dc.contributor.advisorชูเกียรติ วิเชียรเจริญ-
dc.contributor.authorปาริชาติ ปฐมบูรณ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-05-18T05:12:20Z-
dc.date.available2020-05-18T05:12:20Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9740306756-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65845-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการทรุดตัวของแผ่นดินในสภาพปัจจุบัน และศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดแผ่นดินทรุดในเขตบึงกุ่ม กรุงเทพมหานคร ผู้วิจัยได้ทำการแปลและตีความรูปถ่ายทางอากาศในปี พ.ศ. 2517 พ.ศ. 2528 และ พ.ศ. 2541 พร้อมทั้งการสำรวจภาคสนาม เพื่อวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน การสำรวจในภาคสนามประกอบด้วยการรังวัดระดับความสูงตํ่าของภูมิประเทศ การวัดการทรุดตัวของแผ่นดินจากรอยแตกของอาคารจานวน 219 อาคารและเก็บข้อมูลเพิ่มเติมจากการสัมภาษณ์ผู้อยู่อาศัย ในการศึกษาได้ทำการวิเคราะห์ด้วยเทคนิคการวางซ้อนข้อมูล การแสดงภาพจำลองของภูมิประเทศแบบ 3 มิติและใช้วิธีการกำหนด Weighting method ของอาคารโดยการใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) และใช้สมการถดถอยเชิงเส้นตรงในการคาดการณ์การทรุดตัวของหมุดหลักฐานทางดิ่งของกรมแผนที่ทหารจำนวน 12 หมุด จากผลการศึกษาพบว่า ที่ดินประเภทสถาบันราชการ มีการทรุดตัวมากที่สุด รองลงมาคือที่ดินประเภทอุตสาหกรรม ที่ดินประเภทสถาบันการศึกษา ที่ดินประเภทพาณิชยกรรม ที่ดินประเภทสถาบันศาสนา ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัย และที่ดินประเภทคลังสินค้าและโกดัง ตามลำดับจำนวนชนและประเภทของอาคารจะมีผลอย่างมากต่อการทรุดตัวของแผ่นดิน การใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในการกำหนด Weightina method และการกำหนดระยะห่างของที่ตั้งอาคารจากถนนสายหลัก ซึ่งพบว่าถ้าอาคารอยู่ห่างจากถนนมากขึ้นก็จะมีการทรุดตัวน้อยลง กล่าวโดยสรุปการนำนํ้าใต้ดินมาใช้เกินปริมาณสมดุล จำนวนชั้นและประเภทอาคาร และประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดินมิผลต่อการทรุตตัวของแผ่นดินในอัตราที่ไม่เท่ากัน โดยเฉพาะการใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทสถาบันราชการมีการทรุดตัวของแผ่นดินมากที่สุด-
dc.description.abstractalternativeThe main objectives of this study are to examine existing land subsidence and to investigate factors resulted in land subsidence in Khet Bung Khum, Bangkok Metropolis. Photo interpretation, using aerial photographs taken in 1974,1985 and 1998 A.D., and field completion have been exercised for analyzing the landuse changes. The survey research has also involved levelling, measurement of the cracks in 219 selected buildings due to land subsidence and the resident interviews for additional data. In the study, overlay analysis, panoramic viewing, and weighting method assigned to all buildings using a geographical information system (GIS) have been employed. Linear regression approach has also been applied to forecast the subsidence of the 11 existing vertical controls, established by the Royal Thai Survey Department (RTSD). The significant findings of the present study reveals that institutional land use is regarded as being most promising areas for land subsidence, followed by areas utilized as industry, education, commerce, religious, residence and warehouse respectively. The number of stories and types of buildings have also tremendous effects in land subsidence. It is found that, with the help of the GIS using weighting method applied to all buildings and distance of building location from the main road, the more the building location is apart from the main road, the less value of land subsidence detected. In summary, excessive utilization of underground water, number of stories and type of buildings, and landuse classes will result in land subsidence at different rate, especially institutional land use is deemed as being most significant areas for land subsidence.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์en_US
dc.subjectแผ่นดินทรุด -- ไทย -- บึ่งกุ่ม (กรุงเทพฯ)en_US
dc.subjectGeographic information systems-
dc.subjectSubsidences ‪(Earth movements)‬ -- Thailand -- Bung Khum (Bangkok)-
dc.titleระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการศึกษาแผ่นดินทรุด ในเขตบึงกุ่ม กรุงเทพมหานครen_US
dc.title.alternativeGeographic information system for the study land subsidence in Khet Bung Khum, Bangkok Metropolisen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineภูมิศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorprcrtsd@yahoo.com-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Parichart_pa_front_p.pdf852.78 kBAdobe PDFView/Open
Parichart_pa_ch1_p.pdf767.68 kBAdobe PDFView/Open
Parichart_pa_ch2_p.pdf1.83 MBAdobe PDFView/Open
Parichart_pa_ch3_p.pdf2.35 MBAdobe PDFView/Open
Parichart_pa_ch4_p.pdf4.42 MBAdobe PDFView/Open
Parichart_pa_ch5_p.pdf831.63 kBAdobe PDFView/Open
Parichart_pa_back_p.pdf1.64 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.