Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68085
Title: การศึกษาเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพในยุทธวิธี การรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคลของครูประถมศึกษา
Other Titles: The quantitative and qualitative inquiry into strategies for getting to know individual students of elementary school teachers
Authors: พิทักษ์ ม้าฮอส
Advisors: สุวัฒนา สุวรรณเขตนิคม
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์
Advisor's Email: สุวัฒนา สุวรรณเขตนิคม
Subjects: นักเรียน
การพัฒนานักเรียน
กรณีศึกษา
วิจัย
Issue Date: 2543
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและนำเสนอยุทธวิธีการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคลของครูประถมศึกษา การเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วยการศึกษาเอกสารและวีดีทัศน์ การสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ การศึกษากรณีศึกษาจำนวน 2 กรณี การสำรวจความคิดเห็นของครูประถมศึกษา 450 คน และการสนทนากลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ ผลการวิจัยพบว่ายุทธวิธีการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคลของครูประถมศึกษาควรเป็นดังนี้ (1) มุ่งรู้จักนักเรียนอย่างน้อย 3 ด้านคือ ลักษณะนิสัย การเรียน และภูมิหลัง (2) เก็บข้อมูล 2 ช่วงเวลาคือ ช่วงก่อนเปิดเรียน และช่วงเปิดเรียน (3) ใช้แหล่งข้อมูลทุติยภูมิ แหล่งข้อมูลบุคคล และแหล่งข้อมูลจากสถานการณ์ทั้งในและนอกห้องเรียน (4) ใช้วิธีการเก็บข้อมูลโดยการสังเกต สัมภาษณ์ การตรวจผลงาน การเยี่ยมบ้าน การจัด กิจกรรม การประชุมครู และแบบสอบ (5) สร้างความเข้าใจจากข้อมูล โดยการวิเคราะห์ข้อมูลเป็นรายบุคคล แล้วสรุปผลการ วิเคราะห์ข้อมูลลงกระดาษหน้าเดียว (6) ใช้ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อประเมินแผนการสอน ออกแบบกิจกรรมการเรียนการ สอน และสนับสนุนการเรียนรู้ของนักเรียนเป็นรายบุคคล
Other Abstract: The purposes of this study were to study and to propose strategies for getting to know individual students of elementary school teachers. The research methods composed of a study of documents and video, interview of experts, two case study, a survey of 450 elementary school teachers and a focus group discussion. Results The proposed strategies for getting to know individual students for elementary school teachers were as follow. (1) Intended to know each student in at leat three aspects. They were habits, learning and background. (2) Had to collect data continuously in two phases. They were before and during the beginning of the term. (3) Used secondary data, people and situations as sourses of information. (4) Used observation, interview, homework correction, home-visit, activities arrangment, teacher meeting and testing as data collecting methods. (5) Gained understanding through analizing each student on one page presentation. (6) Used analysis results for evaluating the lesson plan, designing teaching activities and supporting each student’s learning.
Description: วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543
Degree Name: ครุศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิจัยการศึกษา
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68085
ISBN: 9741312148
Type: Thesis
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pitak_ma_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ849.91 kBAdobe PDFView/Open
Pitak_ma_ch1_p.pdfบทที่ 1689.87 kBAdobe PDFView/Open
Pitak_ma_ch2_p.pdfบทที่ 21.23 MBAdobe PDFView/Open
Pitak_ma_ch3_p.pdfบทที่ 31.21 MBAdobe PDFView/Open
Pitak_ma_ch4_p.pdfบทที่ 41.8 MBAdobe PDFView/Open
Pitak_ma_ch5_p.pdfบทที่ 52.28 MBAdobe PDFView/Open
Pitak_ma_ch6_p.pdfบทที่ 61.14 MBAdobe PDFView/Open
Pitak_ma_ch7_p.pdfบทที่ 71.22 MBAdobe PDFView/Open
Pitak_ma_ch8_p.pdfบทที่ 8877.41 kBAdobe PDFView/Open
Pitak_ma_back_p.pdfรายการอ้างอิง และภาคผนวก1.3 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.