Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68325
Title: การปรับบทบาททางสังคมของลูกจ้างหญิงย้ายถิ่น
Other Titles: Social roles adjustment of women migrant employees
Authors: ยุวดี คุ้มเปลี่ยน
Advisors: สุพัตรา สุภาพ
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: ไม่มีช้อมูล
Subjects: การย้ายถิ่นของแรงงานสตรี
แรงงานสตรี
การปรับตัวทางสังคม
บทบาทตามเพศ
Women migrant labor
Women -- Employment
Social adjustment
Sex role
Issue Date: 2541
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมาย เพื่อศึกษาถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อบทบาท ทางสังคม ของลูกจ้างหญิงย้ายถิ่นภายหลังการย้ายถิ่น วิธีวิจัย คือ แบบสอบถาม การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก ประกอบด้วย สมมติฐาน 5 ข้อ ดังนี้ 1. ลูกจ้างหญิงย้ายถิ่นที่มีอายุมาก สามารถปรับบทบาททางสังคมได้ดีกว่า ลูกจ้างหญิงที่มีอายุน้อย 2. ลูกจ้างหญิงย้ายถิ่นที่มีการศึกษาสูง สามารถปรับบทบาททางสังคมได้ดีกว่า ลูกจ้างหญิงที่มีการศึกษาน้อย 3. ลูกจ้างหญิงย้ายถิ่นที่มีรายได้สูง สามารถปรับบทบาททางสังคมได้ดีกว่า ลูกจ้างหญิงที่มีรายได้ต่ำ 4. ลูกจ้างหญิงย้ายถิ่นที่มีระยะเวลาการย้ายถิ่นมานานกว่า สามารถปรับ บทบาททางสังคมได้ดีกว่า ลูกจ้างหญิงที่มีระยะเวลาการย้ายถิ่นน้อย 5. ลูกจ้างหญิงย้ายถิ่นที่มีการสนับสนุนทางสังคมมาก สามารถปรับบทบาท ทางสังคมได้ดีกว่า ลูกจ้างหญิงที่มีการสนับสนุนทางสังคมน้อย ผลการศึกษาวิจัยพบว่า สมมติฐานทุกข้อเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้
Other Abstract: The main objective of this research was to study the effect of roles of women employees migrant. The researcher used questionaires and in-depth interview to test 5 hypothesis, namely; 1. Older women employees migrant are able to adapt social role better than those with younger 2. High education women employees migrant are able to adapt social roles better than those with low education 3. High income women employees migrant are able to adapt social roles better than those with low income 4. Longer period after migration women employees migrant are able to adapt social roles better than those with shorter period after migration 5. High support of social network women employees migrant are able to adapt social roles better than those with low support of social network. The results of the research were in accordance with the hypothesis.
Description: วิทยานิพนธ์ (สค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541
Degree Name: สังคมวิทยามหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: สังคมวิทยา
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68325
ISSN: 9746396498
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Yuvadee_ku_front.pdfหน้าปกและบทคัดย่อ384.8 kBAdobe PDFView/Open
Yuvadee_ku_ch1.pdfบทที่ 1466.71 kBAdobe PDFView/Open
Yuvadee_ku_ch2.pdfบทที่ 22.05 MBAdobe PDFView/Open
Yuvadee_ku_ch3.pdfบทที่ 3353.03 kBAdobe PDFView/Open
Yuvadee_ku_ch4.pdfบทที่ 42.08 MBAdobe PDFView/Open
Yuvadee_ku_ch5.pdfบทที่ 51.25 MBAdobe PDFView/Open
Yuvadee_ku_ch6.pdfบทที่ 6474.66 kBAdobe PDFView/Open
Yuvadee_ku_back.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก903.73 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.