Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69064
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชุมพร ปัจจุสานนท์-
dc.contributor.authorสิริวิภา อารีย์สมาน-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-11-04T02:07:43Z-
dc.date.available2020-11-04T02:07:43Z-
dc.date.issued2541-
dc.identifier.isbn9743325417-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/69064-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาถึงเขตอำนาจของรัฐเจ้าของธงตามอนุสัญญาสหประชาชาติ ว่าด้วยกฎหมายทะเลปี 1982 ในเรื่องเกี่ยวกับกิจกรรมต่าง ๆ ทางทะเลที่เกี่ยวข้องกับอำนาจหน้าที่ของรัฐเจ้าของธงคือในเรื่องของการป้องกันภัยพิบัติทางทะเลหรืออุบัติการณ์ ของการเดินเรือในทะเลการคุ้มครองและรักษาสิ่งแวดล้อมทางทะเล และในเรื่องของการอนุรักษ์ และจัดการทรัพยากรที่มีชีวิตในทะเลว่าจะมีอยู่เหนือเรือที่มีสัญชาติของตนมากน้อยเพียงใด เพื่อที่จะนำมาวิเคราะห์เปรียบเทียบกับกฎหมายต่าง ๆ ของประเทศไทยที่เกี่ยวข้องว่ามีบทบัญญัติในเรื่องเหล่านั้นอยู่หรือไม่และพอเพียงหรือไม่หากประเทศไทยจะเข้าเป็นภาคีของอนุสัญญาฉบับนี้ จากผลการศึกษาพบว่าประเทศไทยมีกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเรื่องดังกล่าวอยู่บ้างแต่บทบัญญัติที่มีอยู่นั้นยังไม่พอเพียงและยังไม่สอดคล้องกับกฎเกณฑ์และมาตรฐานระหว่างประเทศตามที่อนุสัญญาดังกล่าวบัญญัติไว้อันจะทำให้เรือของไทยและมาตรการต่าง ๆ ทางกฎหมายที่ควบคุมเรือของไทยไม่ได้รับการยอมรับในต่างประเทศ ดังนั้นประเทศไทยในฐานะเจ้าของธงจึงควรจะปรับปรุงกฎหมายที่มีอยู่ให้สอดคล้องกับกฎเกณฑ์และมาตรฐานระหว่างประเทศตามที่อนุสัญญาดังกล่าวบัญญัติไว้-
dc.description.abstractalternativeThe Objective of this study is to study about jurisdiction of flag State according to The United Nations Convention on the Law of the Sea as of year 1982. The Convention indicates about all activities concerned with flag State; i.e. the marine casualty or incident of navigation, tile protection and preservation of the marine environment, the conservation and management of the living resources. I will study this convention and Thai laws, then analyze to see of their connection and differences. From the study we found that Thai laws although have some connection about the area concerned, however the detail is not well defined and not quite clear to implement the provision of thel982 United Nations Convention on the law of the Sea. Therefore this will negatively effect to Thailand as flag as a whole. Therefore, we should make some improvements to our Thai laws, to be more standardize and follow the provision of that Convention.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเลปี 1982en_US
dc.subjectการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมทางทะเลen_US
dc.subjectเขตอำนาจรัฐen_US
dc.subjectความรับผิดสำหรับอุบัติเหตุทางทะเลen_US
dc.subjectกฎหมายทะเล -- ไทยen_US
dc.titleเขตอำนาจรัฐเหนือเรือที่ชักธงของรัฐภายใต้อนุสัญญาสหประชาชาติ ว่าด้วยกฎหมายทะเลปี 1982 : ศึกษากรณีเรือไทยen_US
dc.title.alternativeFlag state jurisdiction under the United Nations Convention on the law of the sea : the case study of Thai vesselsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorChumphorn.P@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Siriwipa_ar_front_p.pdf900.44 kBAdobe PDFView/Open
Siriwipa_ar_ch1_p.pdf789.15 kBAdobe PDFView/Open
Siriwipa_ar_ch2_p.pdf1.81 MBAdobe PDFView/Open
Siriwipa_ar_ch3_p.pdf2.02 MBAdobe PDFView/Open
Siriwipa_ar_ch4_p.pdf1.33 MBAdobe PDFView/Open
Siriwipa_ar_ch5_p.pdf807.55 kBAdobe PDFView/Open
Siriwipa_ar_back_p.pdf1.2 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.