Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70735
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพีระ จิรโสภณ-
dc.contributor.authorชมผกา ณ สงขลา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-11-13T04:47:18Z-
dc.date.available2020-11-13T04:47:18Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.issn9746379682-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70735-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2540en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ ศึกษาการรับรู้หรือการมีจินตภาพต่อกัน ในแง่สถานภาพทางวิชาชีพ การปฏิบัติงาน จรรยาบรรณ และความรับผิดชอบ รวมทั้งศึกษาสัมพันธภาพ ในลักษณะร่วมมือ ใกล้ชิดหรือเป็นอิสระต่อกัน อันจะเอื้ออำนวย หรือเป็นอุปสรรคขัดขวางต่อการทำหน้าที่รายงานข่าวสาร ด้านเศรษฐกิจ-ธุรกิจ ให้มีคุณภาพถูกต้องเที่ยงตรง ผลการวิจัยครั้งได้จากการสำรวจความคิดเห็นจากกลุ่มตัวอย่างนักข่าวเศรษฐกิจ 80 คน และ กลุ่มตัวอย่างนักประชาสัมพันธ์ 70 คน พบว่า นักข่าวเศรษฐกิจกับนักประชาสัมพันธ์ต่างมีจินตภาพ หรือแนวโน้มในการรับรู้ซึ่งกันและกันในทิศทางค่อนไปทางลบมากกว่าทางบวก เกี่ยวกับประเด็นที่น่าสนใจ ทั้งในแง่สถานภาพทางวิชาชีพ คุณสมบัติด้านบุคลิกภาพ การปฏิบัติวิชาชีพ ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานการวิจัย ส่วนลักษณะสัมพันธภาพในด้านการรายงานข่าว ตามความคิดเห็นทั้งของนักข่าวเศรษฐกิจ และนักประชาสัมพันธ์ ต่างระบุว่าอยู่ในระดับเป็นอิสระต่อกันค่อนข้างมาก คือ มีความเป็นส่วนตัว หรือ มีผลประโยชน์ส่วนตัวเข้ามาเกี่ยวข้องบ้างเป็นบางครั้ง แต่น้อยมาก ซึ่งปฏิเสธสมมติฐานที่ว่า นักข่าวกับนักประชาสัมพันธ์ส่วนใหญ่ มีสัมพันธภาพต่อกัน ในลักษณะขึ้นต่อกันมากกว่าเป็นอิสระต่อกัน-
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study are: (1) to study the reciprocal perception or imagination between on their professional status, jobperformance, including professional, ethics and responsibility; and (2) to study their relationship patterns which may facilitate or inhibit to the efficiency and accuracy in economic reporting. Finding data from the survey of 80-economic journalists, and 70 public relations practitioners show both groups perceive each other in some aspects such as professional status, qualifications and job performance cosforming to the research hypothesis. That is more negative than positive way. However, concerning reporter and news source relationship, resertts disconfirm the research hypothesis that such relationship is dependent rather than independent.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectนักข่าวen_US
dc.subjectการสื่อข่าวและการเขียนข่าวen_US
dc.subjectข่าวการเงินen_US
dc.subjectReporters and reportingen_US
dc.subjectJournalism, Commercialen_US
dc.titleจินตภาพและสัมพันธภาพระหว่างนักข่าวกับนักประชาสัมพันธ์ ในฐานะแหล่งข่าว ในการรายงานข่าวสารด้านเศรษฐกิจen_US
dc.title.alternativeImage and interpersonal relations between newspaper reporters and PR. practitioners as being news sources in economic reportingen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการหนังสือพิมพ์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPira.C@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chompaka_na_front.pdfหน้าปกและบทคัดย่อ385.94 kBAdobe PDFView/Open
Chompaka_na_ch1.pdfบทที่ 1343.05 kBAdobe PDFView/Open
Chompaka_na_ch2.pdfบทที่ 21.61 MBAdobe PDFView/Open
Chompaka_na_ch3.pdfบทที่ 3260.28 kBAdobe PDFView/Open
Chompaka_na_ch4.pdfบทที่ 42.41 MBAdobe PDFView/Open
Chompaka_na_ch5.pdfบทที่ 51.11 MBAdobe PDFView/Open
Chompaka_na_back.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก1.03 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.