Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71074
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorไชยันต์ ไชยพร-
dc.contributor.authorอภิชาติ สุริบุญญา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-11-27T03:24:37Z-
dc.date.available2020-11-27T03:24:37Z-
dc.date.issued2541-
dc.identifier.isbn9746395912-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71074-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อทำความเข้าใจเกี่ยวกับแนวความคิด “เจตน์จำนง'’ ในทฤษฎีสัญญาประชาคมของนักปรัชญา จัง จาค รุสโซ ว่า แท้ที่จริงแล้ว คืออะไร มีความ หมายอย่างไร ที่สำคัญสามารถที่จะนำมาปฏิบัติได้จริงหรือไม่ หรือเป็นเพียงอุดมคติ ซึ่งในการวิจัยได้ยึดตัวบท “สัญญาประซาคม” เป็นของเขตของการศึกษา โดยอาศัยวิธีการตีความแบบวิเคราะห์ตัวบทโดยละเอียด ซึ่งได้พิจารณาถึงบริบททางประวัติศาสตร์ ชีวประวัติ รวมทั้งการ วิเคราะห์การแยกเจตนาของนักปรัชญาท่านนี้เป็นหลัก ในระหว่างการวิจัยได้ตั้งข้อสมมติฐานของการศึกษาว่า เจตน์จำนงร่วม ในแนวความคิดทางการเมืองของ จัง จาค รุสโซ ที่ปรากฏในหนังสือสัญญาประชาคมของเขา ไม่สามารถ กระทำได้ในทางปฏิบัติ โดยเป็นเพียงอุดมคติเท่านั้นแนวความคิดนี้มีข้อจำกัดหลายประการที่ไม่สามารถทำให้เกิดผลในทางปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรมได้ และที่สำคัญ แนวความคิดทางการ เมืองของเขามีความขัดแย้งกันอย่างสิ้นเชิง ผลการวิจัยพบว่า เจตน์จำนงร่วม ซึ่งเป็นแนวความคิดหรือบรรทัดฐานหลักในทฤษฎี สัญญาประชาคมของรุสโชนั้น ไม่สามารถปฏิบัติได้จริง โดยเป็นเพียงอุดมคติเท่านั้น เนื่องจาก ปัจจัยหรือเงื่อนไขที่จะทำให้เกิดเจตน์จำนงร่วมนั้นมีข้อจำกัดหลายประการที่ไม่สามารถปฏิบัติ ได้ และรุสโซก็ไม่ใช่ผู้ที่กำหนดคำนี้ขึ้นมาเอง แต่ได้นำแนวความคิดนี้มาจากนักปรัชญาท่านอื่นก่อนหน้าเขา ด้วยเหตุผลดังกล่าว ทำให้ปรัชญาการเมืองของรุสโชมีความเชื่อถือน้อยลง และส่ง ผลต่อบุมมองที่มีต่อเขาว่า เขาเป็นนักปรัชญาที่แท้จริงหรือไม่หรือเป็นเพียงผู้มีความสามารถทาง การใช้โวหารเท่านั้น-
dc.description.abstractalternativeThis research involves an attempt to clarify and re-define the notion of "General Will” as stipulated in Jean Jacques Rousseau ‘s Social Contract as to its nature, meaning and significance as well as to probe its applicability in political context.. If these conditions fail, the notion will be merely one of the extreme idealistic views. This research was conducted by means of adhereing specifically to the context of “Social Contract” as a domain of study an thought text - analysis approach inclusive of its historical context, Rousseau ‘s biography with emphasis being placed on the re- interpretation of Rousseau's intention and his premises This research proceeded on the basis of the hypothesis with which intails that the content of Rousseau’s political philosophy as stipulated in this text falls short in terms of applicabitity due to its overwhelmingly idealistic nature. The notion 1 nevertheless 1 was rendered unpractical and inapplicable by its very own conditions which are hardly to be fulfiled in any circumstances. More importantly , it is apparent upon investigation that the notion of "General Will” is totally self - contradictory. According to this research ,it is found that the idea of “General Will” which underlies Rousseau ‘s overall theory of Social Contract is actually inapplicable due to its extremely idealioristic nature .Upon close investigation , its various necessary conditions are impossible to fulfil and therefore render the overall notion inapplicable. On the contrary , it derived from the notion formerly proposed by other thinkers before his times .This accounts for lesure credits being attributed to Rousseau and his pol.philosophy and 1as a consequence , gives birth to an unprecedented question whether he is an ingenius philosopher or he is merely a rhetoric man.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectรุสโซ, ฌอง ฌาค, ค.ศ. 1712-1778en_US
dc.subjectสัญญาประชาคมen_US
dc.subjectการเมือง -- ปรัชญาen_US
dc.subjectSocial contracten_US
dc.titleความเป็นอุดมคติของ "เจตน์จำนงร่วม" ในทฤษฎีสัญญาประชาคมของจัง จาค รุสโซen_US
dc.title.alternativeUtopianism of "General will" in rousseau's social contracten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการปกครองen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorChaiyan.C@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Apichat_su_front_p.pdfหน้าปก และบทคัดย่อ851.66 kBAdobe PDFView/Open
Apichat_su_ch1_p.pdfบทที่ 1901.06 kBAdobe PDFView/Open
Apichat_su_ch2_p.pdfบทที่ 21.84 MBAdobe PDFView/Open
Apichat_su_ch3_p.pdfบทที่ 32.17 MBAdobe PDFView/Open
Apichat_su_ch4_p.pdfบทที่ 45.07 MBAdobe PDFView/Open
Apichat_su_ch5_p.pdfบทที่ 54.08 MBAdobe PDFView/Open
Apichat_su_ch6_p.pdfบทที่ 61.71 MBAdobe PDFView/Open
Apichat_su_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก711.68 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.