Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71531
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชนินทร์ เตซะประเสริฐวิทยา-
dc.contributor.advisorวันดี อภิณหสมิต-
dc.contributor.authorป์รัชญา จำปาเทศ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-12-15T01:39:03Z-
dc.date.available2020-12-15T01:39:03Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.isbn9746349287-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71531-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อเปรียบเทียบผลของการทาเตตราชัยคลินไฮโดรคลอไรด์ความเข้มข้น 50, 100 และ 150 มิลลิกรัม/ มิลลิลิตร และกรดซิริกเข้มข้น พีเอช 1 บนชิ้นเนื้อฟันที่เตรียมจากฟันเป็นโรคปริทันต์ซี่เดียวกัน ซี่ ละ 4 ชิ้น จำนวน 10 ซี่ โดยทาสารทั้ง 4 ชนิดบนชิ้นเนื้อฟัน และนำไปผ่านขบวนการเตรียมตัวอย่างเพื่อศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดส่องกราด เปรียบเทียบจำนวนรูเปิดท่อเนื้อฟัน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง และผลรวมพื้นที่ หน้าตัดของรูเปิดท่อเนื้อฟัน โดยการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบแจงทางเดียว ผลการวิจัยพบว่ากลุ่มที่ทาเตตราชัยคลิน ไฮโดรคลอไรต์ความเข้มข้น 100 และ 150 มิลลิกรัม/ มิลลิลิตร ให้ผลไม่แดกต่างจากการทากรดชิตรีกอยางมินัยสำคัญ ทางสถิติ (p<0.05) ในขั้นตอนที่สองจึงเลือกเตตราชัยคลินไฮโดรคลอไรด์ความเข้มข้น 100 และ 150 มิลลิกรัม/ มิลลิลิตร ทาบนผิวรากฟันโรคปริทันต์ที่ขูดหินน้ำลายและเกลารากฟันแล้ว เปรียบเทียบกับการทากรดซิตริก ผลการวิจัยพบ ว่าสารทั้งสามชนิดทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในลักษณะใกล้เคียงกัน โดยพบลักษณะรากฟัน 2 แบบ คือ บริเวณที่มิเคลือบรากฟันเหลืออยู่ และบริเวณที่มีเนื้อฟันเผย บริเวณที่มีเคลือบรากฟันเหลืออยู่พบลักษณะแตกต่างกันออกไป บางบริเวณลักษณะเป็นรอยแยก บางบริเวณลักษณะเป็นตุ่มนูนซึ่งคือส่วนที่เหลืออยู่ของเส้นใยซาร์ปเปย์ เห็นเส้นใยคอลลาเจนรอบๆ ตุ่มนูนชัดเจน ส่วนบริเวณที่มีเนื้อฟันเผยพบเส้นใยคอลลาเจนเส้นสั้นๆ และรูเปิดท่อเนื้อฟันขนาดเล็กทั่วไปผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าเตตราชัยคลินไฮโดรคลอไรด์ความเข้มข้น 100 และ 150 มิลลิกรัม/ มิลลิลิตร ให้ผลในการละลายแร่ธาตุและเปลี่ยนแปลงผิวรากฟันไม่แตกต่างจากการทากรดซิตริก เตตราชัยคลินไฮโดรคลอไรด์ความเข้มข้น 100 และ 150 มิลลิกรัม/มิลลิลิตรจึงน่าจะเป็นตัวเลือกที่ดีในการใช้เสริมการรักษาโรคปริทันต์-
dc.description.abstractalternativeThe objective of this study was to compare the results of 50, 100 and 150 mg/ml of the tetracycline hydrochloride solutions and citric acid pH 1 on dentin blocks prepared from 10 periodontitis affected teeth. Dentin blocks were applied by 4 types of solutions and then processed and examined by using scanning electron microscopy. The number, diameter and total area of dentinal tubule openings were compared by One Way Analysis of Variance. The results showed that there were no statistically singnificant differences (p<0.05) between the effect of tetracycline hydrochloride at the concentrations of 100 and 150 mg/ml and citric acid. In addition, the comparison of 100 and 150 mg/ml of the tetracycline hydrochloride and citric acid on periodontitis affected root surfaces after scaling and root planing of 10 teeth were performed. The results revealed no differences in appearance among these three groups. Some areas had cementum left whereas some had dentin exposed. In the cementum left areas, different appearances such as, fissure-like cleft or granular appearance outlining by collgen like intrinsic fibers were seen. The granular appearance represented the remnant of Sharpey's fibers. Exposed dentin areas had small scattered dentinal tubules and tufted collagen fibers. From the present study, it was concluded that 100 and 150 mg/ml of tetracycline hydrochloride demineralized and changed the morphology of root surface similar to that of citric acid. Therefore, tetracycline hydrochloride (100 or 150 mg/ml) may be considered as an alternative choice for root surface demineralization.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectTetracycline -- Adverse effects-
dc.subjectCitric Acid-
dc.subjectMicroscopy, Electron, Scanning-
dc.subjectTooth Root-
dc.titleการเปรียบเทียบผลของเตตราซัยคลินไฮโดรคลอไรด์ และกรดซิตริกต่อผิวรากฟันศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน ชนิดส่องกราด-
dc.title.alternativeComparative sem study on the effect of tetracycline hydrochloride and citric acid on root surfaces-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineปริทันตศาสตร์-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Rachaya_ch_front_p.pdf947.27 kBAdobe PDFView/Open
Rachaya_ch_ch1_p.pdf989.2 kBAdobe PDFView/Open
Rachaya_ch_ch2_p.pdf1.27 MBAdobe PDFView/Open
Rachaya_ch_ch3_p.pdf823.93 kBAdobe PDFView/Open
Rachaya_ch_ch4_p.pdf2.12 MBAdobe PDFView/Open
Rachaya_ch_ch5_p.pdf899.2 kBAdobe PDFView/Open
Rachaya_ch_back_p.pdf944.22 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.