Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71719
Title: ปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนแรงงานหญิง : ศึกษากรณีอุตสาหกรรมเสื้อผ้าสำเร็จรูป
Other Titles: Female workers' human right violations : a case study of garment industry
Authors: สุจินตนา สิงหโกวินท์
Advisors: สุริชัย หวันแก้ว
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณทิตวิทยาลัย
Subjects: ค่าจ้าง -- สตรี
สตรี -- การจ้างงาน
สิทธิมนุษยชน
อุตสาหกรรมเสื้อสำเร็จรูป
สิทธิลูกจ้าง -- ไทย
แรงงานสตรี -- ไทย
Issue Date: 2538
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: งานการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนแรงงานหญิงในอุตสาหกรรมเสื้อผ้าสำเร็จรูปแห่งหนึ่ง เพื่อหาสาเหตุ และแนวทางแก้ไข โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกผู้ให้ข้อมูลสำคัญ 25 ราย ผลการวิจัยพบว่าแรงงานหญิงในอุตสาหกรรมเสื้อผ้าสำเร็จรูปถูกละเมิดสิทธิมนุษชน 13 ลักษณะ คือ 1. สิทธิในการพัฒนาและปกป้องในฐานะสมาชิกของรัฐ 2.สิทธิในการได้รับการคุ้มครองตามกฎหมายกำหนด 3. สิทธิในการจัดตั้งและมีส่วนร่วมในสหภาพแรงงาน 4. สิทธิในการปฏิสัมพันธ์ดีจากนายจ้างในระบบทวิภาคี 5. สิทธิในความก้าวหน้าในการทำงาน 6. สิทธิในความมั่นคงในการทำงาน 7. สิทธิในการพัฒนาทักษะในการทำงาน 8. สิทธิในกิจกรรมเชิงสุนทรียะ 9. สิทธิในการแต่งาน 10. สิทธิในการผ่อนผันขณะมีประจำเดือน 11.สิทธิในการปกป้องตนเองจากการล่วงละเมิดทางเพศ 12. สิทธิในการเลี้ยงลูกด้วยตนเอง 13. สิทธิในการลาคลอด โดยสาเหตุมาจากนายจ้าง แรงงานหญิง ค่านิยม บรรทัดฐาน และความสัมพันธ์ระหว่างนายจ้างกับเศรษฐกิจโลก และสถาบันที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ สำนักงานแรงงาน และสวัสดิการสังคมประจำจังหวัด องค์กรพัฒนาเอกชน ฯลฯ สำหรับแนวทางเพื่อการแก้ไขปัญหา อาจพิจารณาแก้ไขได้จากสาเหตุของปัญหานั่นเอง
Other Abstract: The objectives of this research is to study problems of human right violations in a garment factory. It is to detect its cause and the ways to solve these problems. The methods used qualitative and twenty five key informants were interviewed indepths. The results were thirteen ways of violations were found. There were violations in 1) right as a member of the state, 2) right to get welfare according to the labour laws, 3) right in organize a union, 4) right to obtain a good treatment from the factory excutive members, 5) right to get promotion to a higher position, 6) right to get work security, 7) right to obtain a training skill, 8) right to work in a good atmosphere, 9) right to get marriage, 10) right to get rest during menstruation period, 11) right to prevent sextual violation, 12) right to get permission in looking after one own children, 13) right to get 3 months exempted to give birth. The cause of these problems are from relationship employer between female workers and social values norms. Balance of power cannot be checked stemming from poor management, world economic effect, responsibility of goverment and non-government organizations. The way to solve these problems, is the cause must be taken in to consideration.
Description: วิทยานิพนธ์ (สค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538
Degree Name: สังคมวิทยามหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: สังคมวิทยา
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71719
ISSN: 9746321102
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sujintana_si_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ938.76 kBAdobe PDFView/Open
Sujintana_si_ch1_p.pdfบทที่ 11.42 MBAdobe PDFView/Open
Sujintana_si_ch2_p.pdfบทที่ 21.78 MBAdobe PDFView/Open
Sujintana_si_ch3_p.pdfบทที่ 32.74 MBAdobe PDFView/Open
Sujintana_si_ch4_p.pdfบทที่ 4678.47 kBAdobe PDFView/Open
Sujintana_si_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก916.61 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.