Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72022
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพวงรัตน์ บุญญานุรักษ์-
dc.contributor.authorสุจิตรา วราอัศวปติ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-01-28T06:16:58Z-
dc.date.available2021-01-28T06:16:58Z-
dc.date.issued2538-
dc.identifier.isbn9746323032-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72022-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบปริมาณเวลาการปฏิบัติงานของเสมียนหอผู้ป่วย และเพื่อเปรียบเทียบปริมาณเวลาการปฏิบัติงานของพยาบาลก่อนและหลังการฝึกอบรม เสมียนหอผู้ป่วย กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาล และเสมียนหอผู้ป่วยที่ปฏิบัติงานผลัดเข้าในหอผู้ป่วยของโรงพยาบาล ศรีนครินทร์ สุ่มตัวอย่างแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยเครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง คือ โครงการฝึกอบรมเสมียนหอผู้ป่วยและคู่มือการปฏิบัติงานของเสมียนหอผู้ป่วย และเครื่องมือที่ใช้ในการ เก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบบันทึกและคู่มือการบันทึกปริมาณเวลาการปฏิบัติกิจกรรมของพยาบาลและเสมียนหอผู้ป่วย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสังเกตโดยตรงอย่างต่อเนื่องก่อนและหลังการฝึกอบรมเสมียนหอผู้ป่วย ผลการวิจัยสรุปได้ด้งนี้ 1. ปริมาณเวลาการปฏิบัติงานในหน้าที่ของเสมียนุหอผู้ป่วยโดยรวมและโดยเฉพาะในเรืองการคัดลอกคำสั่งการรักษาหลังการฝึกอบรมเสมียนหอผู้ป่วยมีค่าเฉลี่ยสูงกว่าก่อนการฝึกอบรมเสมียนหอผู้ป่วย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ปริมาณเวลาการปฏิบัติงานทีไม่ใช่งานวิชาชีพของพยาบาลโดยรวมและโดยเฉพาะในเรื่องการคัดลอกคำสั่งการรักษาและการเขียนใบเบิกต่าง ๆ มีค่าเฉลี่ยต่ำลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อพยาบาลปฏิบัติงานกับเสมียนหอผู้ป่วยทีได้รับการฝึกอบรมแล้ว 3. ปริมาณเวลาการปฏิบัติงานการพยาบาลโดยอ้อมโดยรวมและโดยเฉพาะในเรื่องการรายงาน และการปุระชุมปรึกษา มีค่าเฉลี่ยสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อพยาบาลปฏิบัติงานกับเสมียนหอผู้ป่วยที่ได้รับการฝึกอบรมแล้ว 4. ปริมาณเวลาการปฏิบัติงานวิชาชีพของพยาบาลมีค่าเฉลี่ยไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ เมื่อพยาบาลปฏิบัติงานกับเสมียนหอผู้ป่วยที่ได้รับและไม่ได้รับการฝึกอบรม-
dc.description.abstractalternativeThis quasi-experimental research was conducted to compare clerical working time performed by ward clerks and to compare professional working time performed by nurses before and after ward clerk training. The samples were nurses and ward clerks who were working during day shift of Srinagarind hospital selected by using simple technique. The research tools were consisted of training programe and ward clerk hand book; and recording form and guideline. Data was collected by the researcher through direct observation of working time of nurses and ward clerks during day shift before and after ward clerk training. The major finding were as follow: 1. The average of total clerical working time and in the category of transcribing the medical prescription performed by ward clerks after training were statistically higher than before training at .05 significant level. 2. The average of total non-professional working time and in the category of transcribing the medical prescription and writing the request forms performed by nurses were statistically lower at .05 significant level while they work with trained ward clerks. 3. The average of total indirect nursing care time and in the category of reporting and conference performed by nurses were statistically higher at .05 significant level while they worked with trained ward clerks. 4. The average of professional working time performed by nurses was no statistically significant differences while they worked with untrained and trained ward clerks.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเสมียนหอผู้ป่วยen_US
dc.subjectผู้ช่วยพยาบาลen_US
dc.subjectพยาบาลen_US
dc.titleผลการฝึกอบรมเสมียนหอผู้ป่วยต่อปริมาณเวลาการปฏิบัติงาน ในหน้าที่ของเสมียนหอผู้ป่วยและปริมาณเวลาการปฏิบัติงาน วิชาชีพของพยาบาลen_US
dc.title.alternativeEffects of ward clerk training on clerical working time of ward clerks and professional working time of nursesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการบริหารการพยาบาลen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sujitra_wa_front_p.pdf911.19 kBAdobe PDFView/Open
Sujitra_wa_ch1_p.pdf1.06 MBAdobe PDFView/Open
Sujitra_wa_ch2_p.pdf2.24 MBAdobe PDFView/Open
Sujitra_wa_ch3_p.pdf985.24 kBAdobe PDFView/Open
Sujitra_wa_ch4_p.pdf930.73 kBAdobe PDFView/Open
Sujitra_wa_ch5_p.pdf1.07 MBAdobe PDFView/Open
Sujitra_wa_back_p.pdf3.65 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.