Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72287
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิเทศ ตินณะกุล-
dc.contributor.authorสิริกันยา ปานพ่วงศรี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์-
dc.date.accessioned2021-02-15T07:07:41Z-
dc.date.available2021-02-15T07:07:41Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9741302568-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72287-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (สค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงการจัดบริการสวัสดิการสังคมสำหรับผู้สูงอายุของภาครัฐในเขตกรุงเทพมหานคร ข้อมูลในการวิจัยเก็บรวบรวมจากผู้สูงอายุทั้งเพศชายและเพศหญิงที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป โดยอาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานครอย่างต่อเนื่องไม่น้อยกว่า 1 ปี โดยใช้แบบสอบถามจำนวน 200 ราย และโดยการสัมภาษณ์เจาะลึกจำนวน 10 ราย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบหาค่าไคสแควร์ เพื่อวิเคราะห์หาค่าความสัมพันธ์ของตัวแปรอิสระและตัวแปรตามโดยใช้ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 ผลการวิจัยพบว่า ผลการทดสอบสมมติฐานเป็นไปตามสมมติฐาน 1 ข้อ ได้แก่ สถานภาพการสมรส ที่มีความสัมพันธ์กับความต้องการของผู้สูงอายุในการได้รับบริการจากภาครัฐ และ ปฏิเสธสมมติฐาน 7 ข้อ ได้แก่ เพศ อายุ รายได้ ระดับการศึกษา จำนวนบุตร ภาวะสุขภาพ การติดต่อสัมพันธ์กับบุคคลในครอบครัว ที่ไม่มีความสัมพันธ์กับความต้องการของผู้สูงอายุในการได้รับบริการจากภาครัฐen_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study about the Public Sectors Welfare Provision for Elderly in Bangkok Metropolis . The data for this research collectted from male and female elderly who were 60 years old and over and continuously lived in Bangkok not less than 1 year. The researcher collectted data of 200 cases from the elderly by using questionnaire and in - depth interview for 10 cases . The statistical methods in analyzing the data were percentile ,arithmetic mean , standard deviation and chi - square test with the significant level at 0.05 The result of this research were in accordance with one hypothesis on marital status which related to the elderly ‘ s needs of government service and rejected 7 hypotheses on sex , age , income , education , number of children , health and the relationship with children.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectผู้สูงอายุ -- ไทย -- กรุงเทพฯen_US
dc.subjectผู้สูงอายุ -- การสงเคราะห์en_US
dc.subjectบริการสังคมen_US
dc.titleการจัดสวัสดิการของภาครัฐแก่ผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานครen_US
dc.title.alternativeThe public sectors welfare provision for elderly in Bangkok Metropolisen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสังคมวิทยามหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineสังคมวิทยาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.otherไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Pol - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sirlkunya_pa_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ794.47 kBAdobe PDFView/Open
Sirlkunya_pa_ch1_p.pdfบทที่ 1744.34 kBAdobe PDFView/Open
Sirlkunya_pa_ch2_p.pdfบทที่ 22.44 MBAdobe PDFView/Open
Sirlkunya_pa_ch3_p.pdfบทที่ 3887.77 kBAdobe PDFView/Open
Sirlkunya_pa_ch4_p.pdfบทที่ 41.63 MBAdobe PDFView/Open
Sirlkunya_pa_ch5_p.pdfบทที่ 51.04 MBAdobe PDFView/Open
Sirlkunya_pa_ch6_p.pdfบทที่ 6783.73 kBAdobe PDFView/Open
Sirlkunya_pa_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก904.69 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.