Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73405
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนงลักษณ์ ประเสริฐ-
dc.contributor.advisorมณีรัตน์ สุกโชติรัตน์-
dc.contributor.authorวรินทร์ทิพย์ หมี้แสน-
dc.date.accessioned2021-05-15T16:47:57Z-
dc.date.available2021-05-15T16:47:57Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9741308426-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73405-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการฝึกสมาธิตามแนวสติปัฏฐาน 4 ที่มีต่อเชาวน์อารมณ์ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนศึกษาสังเคราะห์ตาก โดยมีสมมติฐานการวิจัย คือ (1) นักเรียนที่ได้รับการฝึกสมาธิตามแนวสติปัฏฐาน4 จะมีคะแนนเชาวน์อารมณ์เพิ่มสูงขึ้นกว่าก่อนได้รับการฝึกสมาธิตามแนวสติปัฏฐาน 4 (2) นักเรียนที่ได้รับการฝึกสมาธิตามแนวสติปัฏฐาน 4 ในกลุ่มทดลองจะมีคะแนนเชาวน์อารมณ์เพิ่มสูงขึ้นกว่านักเรียนที่ไม่ได้รับการฝึกสมาธิตามแนวสติปัฏฐาน 4 ในกลุ่มควบคุมรูปแบบการทดลอง คือ แบบสองกลุ่ม วัดก่อนและหลังการทดลอง กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ตาก จำนวน 34 คน ซึ่งได้จากการจับคู่คะแนนเชาวน์อารมณ์ที่มีคะแนนใกล้เคียงกันแล้วสุ่มเป็นกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 17 คนกลุ่มทดลองได้รับการฝึกสมาธิตามแนวสติปัฏฐาน4 เป็นเวลา 8 วัน ส่วนกลุ่มควบคุมไม่ได้รับการฝึกสมาธิตามแนวสติปัฏฐาน 4 เครื่องมือที่ใช้ทดลอง คือ โปรแกรมการฝึกสมาธิตามแนวสติปัฏฐาน 4 เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูลในการวิจัย คือ แบบวัดเชาวน์อารมณ์วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) หลังการทดลอง นักเรียนที่ได้รันการฝึกสมาธิตามแนวสติปัฏฐาน 4 มีคะแนนเชาวน์อารมณ์เพิ่มสูงขึ้นกว่าก่อนได้รับการฝึกสมาธิตามแนวสติปัฏฐาน 4 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (2) หลังการทดลอง นักเรียนที่ได้รับการฝึกสมาธิตามแนวสติปัฏฐาน 4 ในกลุ่มทดลองมีคะแนนเชาวน์อารมณ์เพิ่มสูงขึ้นกว่านักเรียนที่ไม่ได้รับการปีกสมาธิตามแนวสติปัฏฐาน 4 ในกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this quasi experimental research was to study the effects of practising the four bases mindfulness meditation on Emotional Intelligence of Mathayom Suksa five students in Tak Welfare School. The hypotheses were that (1) The posttest scores on the Emotional Intelligence Scale of the experimental group would be higher than its pretest scores (2) The posttest scores on the Emotional Intelligence Scale of the experimental group would be higher than the posttest snores on the Emotional Intelligence Scale of the control group. The research used pretest and posttest control group design. The sample was 34 Mathayom five students in Tak Welfare School, they were matched by scores and randomly assigned into experimental group and control group, each of which consisted of 17 students. The experimental group practised the four bases mindfulness meditation for 8 days. The instrument used for experiment was the program of practising the four bases mindfulness meditation. The instruments used for data collection in this study was the Emotional Intelligence Scale. The t-test was ultilized for data analysis. The findings indicated that: (1) The posttest scores on the Emotional Intelligence Scale of the experimental group was higher than its pretest scores at 0.01 level significance (2) The posttest scores on the Emotional Intelligence Scale of the experimental group was higher than the posttest scores on the Emotional Intelligence Scale of the control group at 0.01 level significance-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2000.72-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectความฉลาดทางอารมณ์en_US
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษา -- ไทยen_US
dc.subjectสมาธิen_US
dc.subjectสติปัฏฐาน 4en_US
dc.subjectEmotional intelligenceen_US
dc.subjectHigh school students -- Thailanden_US
dc.subjectSamadhien_US
dc.subjectSatipatthana (Buddhism)en_US
dc.titleผลของการฝึกสมาธิตามแนวสติปัฏฐาน 4 ที่มีต่อเชาว์อารมณ์ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ตากen_US
dc.title.alternativeEffects of practising the four bases mindfulness meditation on emotional intelligence of mathayom suksa five students in Tak Welfare Schoolen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineจิตวิทยาการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorManeerat.S@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2000.72-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Warinthip_me_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ808.36 kBAdobe PDFView/Open
Warinthip_me_ch1_p.pdfบทที่ 1834.38 kBAdobe PDFView/Open
Warinthip_me_ch2_p.pdfบทที่ 22.38 MBAdobe PDFView/Open
Warinthip_me_ch3_p.pdfบทที่ 3945.58 kBAdobe PDFView/Open
Warinthip_me_ch4_p.pdfบทที่ 4661.59 kBAdobe PDFView/Open
Warinthip_me_ch5_p.pdfบทที่ 5824.11 kBAdobe PDFView/Open
Warinthip_me_back_p.pdfรายการอ้างอิงและภาคผนวก1.82 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.