Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74017
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนเรศร์ จันทน์ขาว-
dc.contributor.authorอุทิศ ทองกลึง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-06-23T02:19:01Z-
dc.date.available2021-06-23T02:19:01Z-
dc.date.issued2536-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74017-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2536en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีจุดประสงค์ที่จะศึกษาทดลองเกี่ยวกับการใช้วิธีการส่งผ่านเอพิเทอร์มาลนิวตรอนในการหา ปริมาณความชื้นของวัสดุก่อสร้างบางชนิด เอพิเทอร์มาลนิวตรอนได้มาจากต้นกำเนิดนิวตรอนอเมริเซียม- 241/เบริลเลียม ความแรง 3.33 กิกะเบคเคอเรล (90 มิลลิคูรี) ที่เก็บไว้ในก้อนพาราฟินตันขนาด 30 ซม. X 30 ซม. X 30 ซม. ซึ่งใช้เป็นตัวหน่วงพลังงานของนิวตรอน โดยมีแผ่นแคดเมียมและแผ่นยางผสมโบรอนเป็นตัวดูดจับนิวตรอนช้าไว้ เพื่อให้เหลือเพียงเอพิเทอร์มาลนิวตรอนผ่านไปถึงตัวอย่าง นอกจากนี้ได้ทำการศึกษาผลของตำแหน่งต้นกำเนิดนิวตรอนและขนาดของหลุมที่เจาะให้นิวตรอนช้าออกมาจากก้อนพาราฟินตันที่มีต่อความเข้มข้นของนิวตรอนช้า ผลการเปรียบเทียบความไวในการวัดรังสีนิวตรอนช้าพบว่า หัววัดฮีเลียม -3 ที่บรรจุก๊าซที่ความดัน 15,200 มม. ของปรอท มีความไวสูงกว่าหัววัดโบรอนไตรฟลูออไรด์ที่มีขนาดเท่ากันประมาณ 14 เท่า ในการทดลองหาปริมาณความชื้นของวัสดุก่อสร้างบางชนิด พบว่าสำหรับแผ่นไม้อัดที่มีความหนา 10, 15 และ 20 มม. และมีความชื้นในช่วงร้อยละ 7 ถึง 15 มีค่าผิดพลาดไม่เกินร้อยละ 1.04, 1.26 และ 1.30 ตามลำดับ ส่วนกระเบื้องซีเมนต์ใยหินแผ่นเรียบหนา 4 มม. ที่มีความชื้นร้อยละ 9 ถึง 15 มีความผิดพลาดไม่เกินร้อยละ 1.23 และ 1.74 ตามลำดับ-
dc.description.abstractalternativeThe aime of this research was to investigate a method for determining moisture content in some construction materials using the epithermal neutron transmission technique. Epithermal neutrons were produced from a 3.33 GBq (90 mCi) Am-241/Be source kept in a 30 cm x 30 cm paraffin block which was used as the neutron moderator. A cadmium and a boron-rubber sheets were used to absorb slow neutrons allowing only epithermal neutrons to reach the sample. The effect of source position and size of the cavity in the paraffin block on the slow neutron intensity were also investigated. A BF₃ counter of 700 mm of Hg filling gas pressure and a ³He counter of 15,200 mm of Hg filling gas pressure with the same size were compared in measuring slow neutron intensity. It was found that the ³He counter gave a count rate that is about 14 times higher than that obtained with the BF₃ counter. Finally, the moisture contents in some construction materials were determined. It was found that for the plywood sheets of 10, 15 and 20 mm thickness with the moisture contents in the range of 7 to 15 %, the errors were found to be <1.04, 1.26 and 1.30 % respectively. For the 4 mm - and 6 mm – thick asbestos cement flat sheets with 4 to 10% moisture and the 4 mm – thick cement - bonded particle boards with 9 to 15 % moisture the errors were found to be < 1.23 and 1.74 % respectively.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectวัสดุและอุปกรณ์ก่อสร้าง -- ความชื้น -- การวัดen_US
dc.subjectBuilding materials -- Moisture -- Measurementen_US
dc.titleการวัดความชื้นในวัสดุก่อสร้างบางชนิดด้วยวิธีการส่งผ่านเอพิเทอร์มาลนิวตรอนen_US
dc.title.alternativeMoisture measurement in some construction materials by epithermal neutron transmission methoden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิวเคลียร์เทคโนโลยีen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Utit_th_front_p.pdf1.08 MBAdobe PDFView/Open
Utit_th_ch1_p.pdf725.69 kBAdobe PDFView/Open
Utit_th_ch2_p.pdf1.42 MBAdobe PDFView/Open
Utit_th_ch3_p.pdf1.13 MBAdobe PDFView/Open
Utit_th_ch4_p.pdf1.49 MBAdobe PDFView/Open
Utit_th_ch5_p.pdf1.64 MBAdobe PDFView/Open
Utit_th_ch6_p.pdf863.2 kBAdobe PDFView/Open
Utit_th_back_p.pdf790.13 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.