Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75166
Title: Expressions of emanation fictive motion events in Thai
Other Titles: รูปภาษาแสดงการเคลื่อนที่สมมุติแบบไร้ตัวตนในภาษาไทย
Authors: Takahashi, Kiyoko
Advisors: Kingkarn Thepkanjana
Pranee Kullavanijaya
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Arts
Subjects: Linguistics
Thai language -- Phonetics
Cognitive grammar
ภาษาศาสตร์
ภาษาไทย -- สัทศาสตร์
ไวยากรณ์ปริชาน
Issue Date: 2000
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: This study investigates Thai expressions of emanation fictive motion events within the framework of cognitive linguistics. An emanation event is an imagined event in which an intangible entity moves from a source entity relative to a reference entity. The analysis of the data of Thai emanation expressions, which are gathered from published literary books, shows the followings. First, there are two basic types of the idealized cognitive model (ICM) for Thai emanation event: (1) thematic ICM's consisting of two role archetypes, i.e., a mover and an absolute; (2) agentive ICM’s consisting of three role archetypes, i.e., a mover, an absolute and an agent. Second, Thai emanation event can be classified into four specific semantic types according to the kinds of mover: (1) perception emanation, including (1.1) visual emanation (line of vision), (1.2) auditory emanation (sound), (1.3) olfactory emanation (smell), (1.4) tactile emanation (air in motion); (2) radiation emanation (light); (3) shadow emanation (shadow); (4) orientation emanation (the focus of an observer's attention). Third, the structure of Thai emanation events can be categorized into two main types, based on the surface forms of their predicates: (1) a simplex structure represented by a single verb phrase, and (2) an integrated structure represented by a serial verb construction or a verb phrase combined with a prepositional phrase. The integrated structure includes two subtypes: (2.1) simultaneous structures described in more than one perspective, and (2.2) sequential structures consisting of two sub-events occurring in succession. These emanation event subtypes in Thai are language-particular and reflect an aspect of the Thai speaker's understanding of the world.
Other Abstract: ในงานวิจัยชิ้นนี้ผู้วิจัยศึกษารูปภาษาแสดงการเคลื่อนที่สมมุติแบบไร้ตัวตนในภาษาไทยโดยใช้หลักเกณฑ์ของภาษาศาสตร์ปริชาน(การรับรู้และรู้คิด) ในเหตุการณ์การเคลื่อนที่สมมุติแบบไร้ตัวตน สิ่งซึ่งไม่มีตัวตนและจับต้องไม่ได้ เช่น สายตา เสียง กลิ่น ลม แสง เงา เป็นต้น จะเคลื่อนย้ายไปจากจุดเริ่มต้นตามเส้นทางที่กำหนดด้วยจุดอ้างอิง เช่น จุดผ่านและจุดปลายทาง วัตถุประสงค์ในการศึกษามีสองประการ ได้แก่ ๑. เพื่อจำแนกเหตุการณ์ ดังกล่าวออกเป็นประเภทต่างๆ โดยใช้รูปแบบทางปริชาน (cognitive models) และ ๒. เพื่อวิเคราะห์กระสวนของ รูปภาษาแสดงเหตุการณ์ดังกล่าว ผู้วิจัยเก็บข้อมูลของรูปภาษาแสดงเหตุการณ์ดังกล่าวจากสิ่งตีพิมพ์ต่างๆ ซึ่งเป็นนวนิยายและหนังสือรวมเรื่องลัน ผลจากการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า รูปแบบทางปริชานสำหรับเหตุการณ์การเคลื่อนที่สมมุติแบบไร้ตัวตนในภาษาไทยสามารถจำแนกออกเป็นประเภทใหญ่ๆได้สองประเภท ได้แก่ ประเภทที่ประกอบด้วยสิ่งที่ร่วมอยู่ในเหตุการณ์สองอย่าง ได้แก่ สิ่งที่เคลื่อนที่และสิ่งที่ถูกอ้างอิงในการพรรณนาเส้นทางในการเคลื่อนที่ และประเภทที่ประกอบด้วยสิ่งที่ร่วมอยู่ในเหตุการณ์สามอย่าง ได้แก่ สิ่งที่เคลื่อนที่ สิ่งที่ถูกอ้างอิง และสิ่งที่ก่อให้เกิดการเคลื่อนที่ ประธานของรูปภาษาแสดงเหตุการณ์ประเภทแรกมักจะเป็นสิ่งที่เคลื่อนที่เป็นส่วนใหญ่ แต่บางกรณีอาจเป็นสิ่งที่ถูกอ้างอิงก็ได้ ส่วนประธานของรูปภาษแสดงเหตุการณ์ประเภทหลังจะต้องเป็นสิ่งที่สามารถก่อให้เกิดการเคลื่อนที่ได้เท่านั้น เหตุการณ์การเคลื่อนที่สมมุติแบบไร้ตัวตนในภาษาไทยยังลามารถจำแนกได้ด้วยลักษณะคุณสมบัติของสิ่งที่เคลื่อนที่ ได้แก่ ๑. การเคลื่อนที่ของลายตา เสียง กลิ่นและลม ซึ่งมีความสัมพันธ์ยับกระบวนการการรับรู้ ๒. การเคลื่อนที่ของแลง ๓. การเคลื่อนที่ของเงา และ ๔. การเคลื่อนที่ของจุดสนใจของผู้มอง โครงสร้างเหตุการณ์การเคลื่อนที่สมมุติแบบไร้ตัวตนในภาษาไทยสามารถจำแนกเป็นประเภทใหญ่ๆได้สองประเภท ประเภทที่หนึ่งประกอบด้วยเหตุการณ์เพียงเหตุการณ์เดียวซึ่งแสดงด้วยกริยาวลีตัวเดียว ประเภทที่สองประกอบด้วยเหตุการณ์ย่อยลองเหตุการณ์ขึ้นไปซึ่งแสดงด้วยกริยาวลีและบุพบทวลีอย่างละหนึ่งตัวหรือกริยาวลีสองตัวเป็นอย่างน้อย โครงสร้างเหตุการณ์ประ๓ทที่สองยังสามารถจำแนกเป็นประเภทย่อยได้อีกสองประเภท คือ ประเภทที่แสดงการเกิดของเหตุการณ์แบบพร้อมยัน และประเภทที่แสดงการเกิดของเหตุการณ์แบบเรียงต่อ ความหลากหลายของเหตุการณ์เหล่านี้เป็นลักษณะเฉพาะตัวของภาษาไทย และแสดงให้เห็นการเข้าใจโลกของผู้พูดภาษาไทยในอีกแง่มุมหนึ่ง
Description: Thesis (Ph.D. )--Chulalongkorn University, 2000
Degree Name: Doctor of Philosophy
Degree Level: Doctoral Degree
Degree Discipline: Linguistics
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75166
Type: Thesis
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kiyoko_ta_front_p.pdf773.41 kBAdobe PDFView/Open
Kiyoko_ta_ch1_p.pdf704.18 kBAdobe PDFView/Open
Kiyoko_ta_ch2_p.pdf865.59 kBAdobe PDFView/Open
Kiyoko_ta_ch3_p.pdf1.87 MBAdobe PDFView/Open
Kiyoko_ta_ch4_p.pdf2.26 MBAdobe PDFView/Open
Kiyoko_ta_ch5_p.pdf696.01 kBAdobe PDFView/Open
Kiyoko_ta_back_p.pdf697.81 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.