Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65550
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชัยโรจน์ คุณพนิชกิจ-
dc.contributor.authorดนุชา จันทะยานี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-04-26T18:48:57Z-
dc.date.available2020-04-26T18:48:57Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.issn9741721994-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65550-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสัญญาณอะคูสติกกับการสึกหรอของดอกสว่านในเหล็กกล้า SS400 โดยใช้การทดลองสร้างความสึกหรอแก่ดอกสว่านเหล็กกล้าไฮลปีดด้วยการเจาะรูแผ่นเหล็กกล้า SS400 หนา 15 มิลลิเมตร จำนวน 1600 รูเจาะ ทำการทดลองโดยเปลี่ยนแปลง อัตราเร็วรอบ 2 ระดับ คือ 450 และ 710 รอบต่อนาที และอัตราการป้อน 2 ระดับ คือ 0.08 และ 0.20 มิลลิเมตรต่อรอบ ใช้ดอกสว่านทดลองเงื่อนไขละ 3 ดอก และนำสัญญาณอะคูสติกที่ได้มาวิเคราะห์การสะสมของสัญญาณ Energy Count และ Hit เพื่อใช้เป็นพารามิเตอร์สำหรับบ่งบอกสภาพการสึกหรอของ ดอกสว่าน และทำการทดลองวัดกำลังงานขาเช้าที่ใซในการเจาะของดอกสว่าน ทำการทดลองโดยเปลี่ยนแปลงอัตราเร็วรอบ 3 ระดับ คือ 280 450 และ 710 รอบต่อนาที และอัตราการป้อน 3 ระดับ คือ 0.08 0.12 และ 0.20 มิลลิเมตรต่อรอบ ใช้ดอกสว่านทดลองเงื่อนไขละ 1 ดอก เพื่อช่วยในการเปรียบเทียบ กำลังงานและสัญญาณอะคูสติกกับสภาพการสึกหรอของดอกสว่าน ผลการวิจัยพบว่าความสัมพันธ์ระหว่างค่า Energy และ Count กับการสึกหรอของดอกสว่านมีความสัมพันธ์ในลักษณะเชิงเส้น และเมื่อดอกสว่านเกิดการสึกหรอมากหรือมีการแตกบิ่นสัญญาณ Energy และ Count แสดงการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในลักษณะไม่ใช่เชิงเส้น ในขณะที่ค่า Hit ยังไม่ สามารถสรุปลักษณะความสัมพันธ์ที่ชัดเจนได้ เนื่องจากสัญญาณอะคูสติกมิความแปรปรวนค่อนข้างสูงอาจไม่เหมาะสมสำหรับการนำมาใช้ตรวจวัดการสึกหรอของดอกสว่าน แต่สามารถนำมาประยุกต์ใช้กับการตรวจจับการแตกบิ่นของดอกสว่านได้เพราะมีความไวสูง สำหรับความสัมพันธ์ระหว่างกำลังงานของเครื่องเจาะกับการสึกหรอของดอกสว่านพบว่ามีความสัมพันธ์ในลักษณะเชิงเส้นโดยมีความแปรปรวนเล็กน้อย และเมื่อดอกสว่านเกิดการสึกหรอจนไม่สามารถใช้การได้ค่ากำลังงานแสดงการเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ดังนั้นสามารถนำกำลังงานของเครื่องเจาะเป็นตัวบ่งชี้ถึงการสึกหรอและการแตกบิ่นของดอกสว่านได้-
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research is to study a relationship between acoustic signal and drill bit wear in the SS400 steel. The experiment was conducted at 2 cutting speeds : 450 and 750 rpm and at 2 feed rates : 0.08 and 0.2 mm/rev. Each cutting conditions was experimented with 3 high speed twist drills and drilled 1600 holes on 15 mm thick SS400 steel. The acoustic signal was analyzed in term of Energy, Count, and Hit parameters to correlate with the drill wear. In addition, the experiment was also conducted on the input power measurement at 3 cutting speeds : 280, 450, and 750 rpm and 3 feed rates : 0.08, 0.12, and 0.2 mm/rev using one drill for each conditions. The power measurement complemented the relationship between acoustic signal and drill bit wear. The results showed that Energy and Count gradually and linearly increased as drill wear increased. The signal went up exponentially after the drill was chipped and severely worn. Hit parameter was not correlated well with wear. Due to high variation of acoustic signal, it might not suitable for monitoring drill bit wear. However, acoustic signal might be used to detect chipping of drill bit because of its high sensitivity. The input power was less fluctuating and correlated linearly with the drill wear. The power could be used to monitor the drill bit wear and to detect chipping of the drill.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการประมวลสัญญาณen_US
dc.subjectเหล็กกล้า -- พื้นผิวen_US
dc.subjectSignal processingen_US
dc.subjectSteel -- Surfacesen_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างสัญญาณอะคูสติกกับการสึกหรอของดอกสว่านในเหล็กกล้า SS400en_US
dc.title.alternativeA relationship between acoustic signal and drill bit wear in SS400 steelen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเครื่องกลen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorchairote.k@chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Danucha_ch_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ884.81 kBAdobe PDFView/Open
Danucha_ch_ch1_p.pdfบทที่ 1671.35 kBAdobe PDFView/Open
Danucha_ch_ch2_p.pdfบทที่ 21.58 MBAdobe PDFView/Open
Danucha_ch_ch3_p.pdfบทที่ 31.01 MBAdobe PDFView/Open
Danucha_ch_ch4_p.pdfบทที่ 44.09 MBAdobe PDFView/Open
Danucha_ch_ch5_p.pdfบทที่ 5668.42 kBAdobe PDFView/Open
Danucha_ch_back_p.pdfรายการอ้างอิง และภาคผนวก1.33 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.