Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65895
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอาชัญญา รัตนอุบล-
dc.contributor.authorอัญชรา หวังวีระ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-05-20T04:23:10Z-
dc.date.available2020-05-20T04:23:10Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9740307574-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65895-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความรู้ ทัศนคติ และการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันเกี่ยวกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมของนักศึกษาสตรีที่เรียนการศึกษานอกโรงเรียนสายสามัญ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในเขตภาคตะวันออก ตามตัวแปร รายได้ อาชีพ และการรับข่าวสาร จากแบบสอบถาม จำนวน 385 ฉบับ และนำมาวิเคราะห์ด้วยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบความแตกต่างด้วยค่าเอฟ (F-test) และทดสอบรายคู่ของข้อแตกต่างด้วยวิธีการของเชฟเฟ่ ผลการวิจัยพบว่า 1. นักศึกษาสตรีมีความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในส่วนรวมอยู่ในระดับดีและพบว่า นักศึกษาสตรีมีความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ตามตัวแปรการรับข่าวสาร ส่วนตัวแปรรายได้ และอาชีพ แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ 2. นักศึกษาสตรีมีทัศนคติเกี่ยวกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในส่วนรวมอยู่ในระดับดีและพบว่า นักศึกษาสตรีมีทัศนคติเกี่ยวกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ตามตัวแปรการรับข่าวสาร ส่วนตัวแปรรายได้ และอาชีพ แตกต่างกัน อย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ 3. นักศึกษาสตรีมีการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันเกี่ยวกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในส่วนรวมอยู่ในระดับปฏิบัตินาน ๆ ครั้ง และพบว่า นักศึกษาสตรีมีการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันเกี่ยวกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ตามตัวแปรการรับข่าวสาร ส่วนตัวแปรรายได้ และอาชีพ แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of the research were to study and compare the knowledge, attitude and application in daily life concerning environmental conservation of female students at upper secondary education of general non-formal education in the eastern region. Variables examined were income, occupation and receiving of the information. Data were received from 385 questionnaires, and were analyzed by percentage, mean, standard deviation, F-test and Scheffe’ test. The results of study were as follows: 1. Knowledge of female students concerning environmental conservation was good. In addition, their knowledge concerning environmental conservation was significantly different at the level of .01 on the variable of receiving of information. However, there was not significantly different on the variables of income and occupation. 2. Attitude of female students concerning environmental conservation was good. In addition, their attitude concerning environmental conservation was significantly different at the level of .01 on the variable of receiving of information. However, there was not significantly different on the variables of income and occupation. 3. The application of female students in daily life concerning environmental conservation was rarely practice. In addition, the application in daily life concerning environmental conservation was significantly different at the level of.05 on the variable of receiving information. However, there was not significantly different on the variables of income and occupation.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการศึกษาต่อเนื่องen_US
dc.subjectการศึกษานอกระบบโรงเรียนen_US
dc.subjectการพิทักษ์สิ่งแวดล้อมen_US
dc.subjectContinuing education-
dc.subjectNon-formal education-
dc.subjectEnvironmental protection-
dc.titleการศึกษาความรู้ ทัศนคติ และการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน เกี่ยวกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมของนักศึกษาสตรี ที่เรียนการศึกษานอกโรงเรียนสายสามัญระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในเขตภาคตะวันออกen_US
dc.title.alternativeStudy on knowledge, attitude and application in daily life concerning environmental conservation of female students atupper secondary education level of general non-formal education in the eastern regionen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการศึกษานอกระบบโรงเรียนen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorArchanya.R@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Anchara_wh_front_p.pdf951.49 kBAdobe PDFView/Open
Anchara_wh_ch1_p.pdf875.23 kBAdobe PDFView/Open
Anchara_wh_ch2_p.pdf1.9 MBAdobe PDFView/Open
Anchara_wh_ch3_p.pdf921.08 kBAdobe PDFView/Open
Anchara_wh_ch4_p.pdf3.02 MBAdobe PDFView/Open
Anchara_wh_ch5_p.pdf1.7 MBAdobe PDFView/Open
Anchara_wh_back_p.pdf1.11 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.