Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66814
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพนา ทองมีอาคม-
dc.contributor.authorธนันต์ นาคะเกศ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-07-03T02:41:23Z-
dc.date.available2020-07-03T02:41:23Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9745314463-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66814-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทำให้เกิดความรู้ความเข้าใจในเรื่องกลวิธีการพัฒนาโครงงานสร้างสรรค์สู่บทบาทภาพยนตร์สำหรับการถ่ายทำงานโฆษณาทางโทรศัพท์ ด้วยการเทียบเคียงกับผลงานวิจัยของอาเธอร์ เจ โคเวอร์ ที่ว่าด้วยการค้นพบถึงทฤษฏีแฝงในการสื่อสารของนักเขียนบทโฆษณา ระเบียบวิธีวิจัยที่ใช้ในการศึกษาคือ การวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการนำแนววิธีการศึกษาของ โคเวอร์มาใช้เป็นกรอบในการศึกษา ผลจากการวิจัยพบว่า กลวิธีการพัฒนาโครงงานสร้างสรรค์สู่บทภาพยนตร์สำหรับถ่ายทำงานโฆษณาทางโทรศัพท์ เป็นรูปแบบการสื่อสารภายในตัวเอง ที่พ้องตามผลงานวิจัยของโคเวอร์ที่ว่าด้วยทฤษฏีแฝงในการสื่อสารของนักเขียนบทโฆษณา ถึงแม้ผู้สร้างสรรค์บทภาพยนตร์โฆษณาไทยและนักเขียนบทโฆษณาชาวนิวยอร์กจะมีลักษณะทางวัฒนธรรมและสภาพแวดล้อมในการทำงานที่แตกต่างกัน แต่ก็มีลักษณะร่วมในกระบวนการเขียนบทโฆษณาที่คล้ายคลึงกัน รวมทั้งวิธีการเข้าถึงผู้ชมของผู้สร้างสรรค์บทภาพยนตร์โฆษณาไทยจะเป็นแบบนำเสนอเชิงเร่งเร้ามากกว่าแบบนำเสนอความแปลกใหม่เหมือนที่นักเขียนบทโฆษณาชาวนิวยอร์กนิยมกัน แต่ยังพบข้อแตกต่างที่เกิดขึ้นคือ ถึงจะมีกระบวนการสื่อสารภายในตัวเอง ตามผลงานวิจัยของ โคเวอร์ แต่วิธีการสื่อสารกับผู้ชมในความคิดสร้างสรรค์ของผู้สร้างสรรค์บทภาพยนตร์โฆษณาไทย เป็นทั้งแบบเจาะจง บุคคลใดบุคคลหนึ่งและแบบการมองกลุ่มเป้าหมายเป็นภาพรวม ส่วนนักเขียนบทโฆษณาชาวนิวยอร์กจะใช้วิธีการสื่อสารแบบเจาะบุคคลใดบุคคลหนึ่งเท่านั้น-
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research is to study the development techniques from creative brief to shooting script for television commercial by replicating a study of copywriter’s implicit theories of communication by Arthur J. Kover. The study is conducted by using qualitative research method. The research uses Arthur J. Kover’ research result as theoretical framework. The findings are concluded as the shooting script development process of Thai production crews also possess an internal dialogue similar to Kover’ finding in his research on copywriter’s implicit theories of communications. Whose culture and environment are much different, have similar scripting process. To break through to the viewer, Thai production crews use forcing way more than subverting as New York copywriters do. However, there are some differences in the way Thai production crews approach to communication. They communicate with ideal viewer, either as a specific or as a group, while New York copywriters only communicate with specific ideal viewer.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectโฆษณาทางโทรทัศน์-
dc.titleกลวิธีการพัฒนาโครงงานสร้างสรรค์สู่บทภาพยนตร์สำหรับการถ่ายทำงานโฆษณาทางโทรทัศน์en_US
dc.title.alternativeDevelopment techniques from creative brief to shooting script in television commercialen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการโฆษณา-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thanan_na_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ820.53 kBAdobe PDFView/Open
Thanan_na_ch1_p.pdfบทที่ 11.09 MBAdobe PDFView/Open
Thanan_na_ch2_p.pdfบทที่ 22.8 MBAdobe PDFView/Open
Thanan_na_ch3_p.pdfบทที่ 3798.28 kBAdobe PDFView/Open
Thanan_na_ch4_p.pdfบทที่ 41.56 MBAdobe PDFView/Open
Thanan_na_ch5_p.pdfบทที่ 5953.63 kBAdobe PDFView/Open
Thanan_na_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก3.07 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.