Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67662
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิศา ชูโต-
dc.contributor.authorจิตติมา จันทเวช-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-08-21T07:38:22Z-
dc.date.available2020-08-21T07:38:22Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.isbn9743343903-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67662-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสอดคล้องของผลการประเมินประสิทธิภาพการสอนของครูโรงเรียนมัธยมศึกษาระหว่างการประเมินด้วยตนเองของครูผู้สอนกับการประเมินโดยผู้อื่นอันประกอบด้วยหัวหน้าหมวดวิชาของครูผู้สอน เพื่อนร่วมงานในหมวดวิชาเดียวกัน และนักเรียนที่เรียนกับครูผู้สอน และตรวจสอบความคลาดเคลื่อนเชิงปล่อยหรือกดคะแนน (leniency error) กับความคลาดเคลื่อนอันเนื่องมาจากเคยมีปฏิสัมพันธ์มาก่อน (halo error) ระหว่างกลุ่มผู้ประเมินต่างกันทีละคู่โดยใช้แบบสอบถามชนิดมาตรประมาณค่า (Likert scale) 6 ช่วง ที่ผู้วิจัยปรับปรุงจากแบบประเมินประสิทธิภาพการสอนของวิโรจน์ คำนึงคุณากร (2529) เพื่อประเมินประสิทธิภาพการสอนของครู ประสิทธิภาพการสอนของครูที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย 6 คุณลักษณะ ได้แก่บุคลิกภาพของครู ความสามารถทางวิชาการ เจตคติของครูต่อนักเรียนและวิชาที่สอน ความสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียน วิธีการสอนและวิธีการวัดและประเมินผล กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย 2 กลุ่มใหญ่ คือ ครูผู้สอนที่ประเมินตนเองจำนวน 97 คน และกลุ่มผู้ประเมินอื่นได้แก่ หัวหน้าหมวดวิชาของครูผู้สอนจำนวน 95 คน เพื่อนร่วมงานในหมวดวิชาเดียวกันจำนวน 186 คน และนักเรียนที่เรียนกับครูผู้สอนจำนวน 1912 คน ผู้วิจัยใช้โปรแกรมลิสเรลในการวิเคราะห์ความสอดคล้องของผลการประเมินประสิทธิภาพการสอนดังกล่าว จากนั้นตรวจสอบความคลาดเคลื่อนเชิงปล่อยหรือกดคะแนน (leniency error) ด้วยการเปรียบเทียบค่ามัชฌิมเลขคณิตของคะแนนผลการประเมินและทดสอบความแตกต่างระหว่างกลุ่มผู้ประเมินทีละคู่ด้วย The Wilcoxon Mann Whitney Test ตรวจสอบความคลาดเคลื่อนอันเนื่องมาจากเคยมีปฏิสัมพันธ์มาก่อน (halo error) ด้วยการเปรียบเทียบค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนผลการประเมินและทดสอบความแตกต่างระหว่างกลุ่มผู้ประเมินทีละคู่ด้วยt-test กรณีกลุ่มตัวอย่างเป็นอิสระจากกัน (independent samples) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ผลการประเมินประสิทธิภาพการสอนของครู ระหว่างกลุ่มผู้ประเมินต่างกันมีความสอดคล้องกัน 2. ความคลาดเคลื่อนเชิงปล่อยหรือกดคะแนน (leniency error) ของผลการประเมินประสิทธิภาพการสอนซึ่งครูผู้สอนประเมินตนเองมีค่าน้อยกว่าที่นักเรียนประเมิน ที่ระดับนัยสำคัญ .05แต่ไม่พบความแตกต่างระหว่างการประเมินประสิทธิภาพการสอนด้วยตนเองกับการประเมินโดยหัวหน้าหมวดวิชาและเพื่อนร่วมงาน 3. ความคลาดเคลื่อนอันเนื่องมาจากเคยมีปฏิสัมพันธ์มาก่อน (halo error) ของผลการประเมินประสิทธิภาพการสอนจากการประเมินด้วยตนเองของครูผู้สอน พบว่าไม่ปรากฎความคลาดเคลื่อนอันเนื่องมาจากเคยมีปฏิสัมพันธ์มาก่อนน้อยกว่าการประเมินโดยผู้อื่นที่ระดับนัยสำคัญ .05-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study about self-other ratings agreement among teachers self and other ratings, teacher supervisors, peers and students. Detecting leniency error and halo error among that two groups. They used six levels of Likert scale questionnaires which researcher modified from Kamninkoonakorn, V. (1986) to rate teaching effectiveness in secondary school. The characteristics of teaching effectiveness in secondary school were teachers' personality, academic abilities, attitude to students and subjects taught, teacher-student relationships, teaching techniques and evaluation practices. The samples composed of two groups, the97 teachers self rating and other ratings included 95 teachers' supervisors, 186teachers' peers and 1912 of their students. Lisrel techniques was applied to detect the agreement among results of teaching effectiveness of self rating and other ratings. Leniency error and halo error were detected by the Wilcoxon Mann Whitney Test and the independent t-test. The results of study could be summarized as followed: 1. There were agreement between self rating and other ratings of teaching effectiveness in secondary school. 2. Leniency error was found in teachers self rating less than student ratings at .05 significant level. But was not found in other rater groups, supervisors and peers. 3. Halo error in teachers self rating was not found significant at .05 less than other ratings.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectครู -- การประเมินศักยภาพตนเอง-
dc.subjectการสอนอย่างมีประสิทธิผล-
dc.subjectTeachers -- Self-rating of-
dc.subjectEffective teaching-
dc.titleการศึกษาความสอดคล้องของผลการประเมินประสิทธิภาพการสอนของครูโรงเรียนมัธยมศึกษาจากการประเมินด้วยตนเองและผู้อื่น-
dc.title.alternativeA study of agreement between self rating and other ratings of teaching effectiveness of secondary school teachers-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineวิจัยการศึกษา-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Jittima_ju_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ1.07 MBAdobe PDFView/Open
Jittima_ju_ch1_p.pdfบทที่ 11.21 MBAdobe PDFView/Open
Jittima_ju_ch2_p.pdfบทที่ 22.75 MBAdobe PDFView/Open
Jittima_ju_ch3_p.pdfบทที่ 31.33 MBAdobe PDFView/Open
Jittima_ju_ch4_p.pdfบทที่ 43.02 MBAdobe PDFView/Open
Jittima_ju_ch5_p.pdfบทที่ 51.29 MBAdobe PDFView/Open
Jittima_ju_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก2.11 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.