Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68460
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเอกสิทธิ์ นิสารัตนพร-
dc.contributor.advisorฉัตรชัย สมศิริ-
dc.contributor.authorจาพิกรณ์ สุวิกรม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-10-08T10:06:43Z-
dc.date.available2020-10-08T10:06:43Z-
dc.date.issued2541-
dc.identifier.isbn9743314512-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68460-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างจุลภาค ระยะเวลาในการอบเป็นเนื้อเดียว และค่าความแข็งของเส้นลวดทองคำ 14 กะรัต (59.Owt.%Au-14.6wt%Ag-26.4wt%Cu) ที่ผลิตด้วยกรรมวิธีการหล่อด้วยแบบปูนในระบบสุญญากาศและนำมารีดเป็นเส้นลวดด้วยปริมาณลดพื้นที่หน้าตัด 0-88 เปอร์เซ็นต์ เพื่อเปรียบเทียบกับเส้นลวดทองคำที่ไม่ผ่านการอบเป็นเนื้อเดียว ผลการทดลองพบว่า โครงสร้างที่เกิดการแยกชั้นในระดับจุลภาคหรือคอริ่งถูกขจัดด้วยการอบเป็นเนื้อเดียวที่อุณหภูมิ 800 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 ชั่วโมง จากนั้นชุบลงในน้ำผสมน้ำแข็งที่มีอุณหภูมิใกล้ 0 องศาเซลเซียส การทดลองดังกล่าวพบว่าชิ้นงานทดสอบที่ผ่านการอบเป็นเนื้อเดียวมีค่าความแข็งลดลงและกระจายตัวสม่ำเสมอกว่าชิ้นงานที่ไม่ผ่านการอบเป็นเนื้อเดียว การศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับอิทธิพลของการอบอ่อน และอบเพิ่มความแข็งต่อค่าความแข็งเส้นลวดทองคำ 14 กะรัต ที่มีปริมาณลดพื้นที่หน้าตัด 88 เปอร์เซ็นต์ พบว่าชิ้นงานทดลองที่ผ่านการอบเป็นเนื้อเดียวและไม่ผ่านการอบเป็นเนื้อเดียว มีค่าความแข็งเพิ่มขึ้นหลังจากผ่านการอบเพิ่มความแข็งที่ทำให้เกิดการตกผลึกเป็นเฟสใหม่ อย่างไรก็ตามผลการอบเป็นเนื้อเดียว การอบอ่อน การอบเพิ่มความแข็ง แสดงความแตกต่างด้านค่าความแข็งไม่มากนัก (260 HV) เมื่อเปรียบเทียบกับชิ้นงานที่ไม่ผ่านการอบเป็นเนื้อเดียว (253 HV)-
dc.description.abstractalternativeงานวิจัยนี้เป็นการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างจุลภาค ระยะเวลาในการอบเป็นเนื้อเดียว และค่าความแข็งของเส้นลวดทองคำ 14 กะรัต (59.Owt.%Au-14.6wt%Ag-26.4wt%Cu) ที่ผลิตด้วยกรรมวิธีการหล่อด้วยแบบปูนในระบบสุญญากาศและนำมารีดเป็นเส้นลวดด้วยปริมาณลดพื้นที่หน้าตัด 0-88 เปอร์เซ็นต์ เพื่อเปรียบเทียบกับเส้นลวดทองคำที่ไม่ผ่านการอบเป็นเนื้อเดียว ผลการทดลองพบว่า โครงสร้างที่เกิดการแยกชั้นในระดับจุลภาคหรือคอริ่งถูกขจัดด้วยการอบเป็นเนื้อเดียวที่อุณหภูมิ 800 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 ชั่วโมง จากนั้นชุบลงในน้ำผสมน้ำแข็งที่มีอุณหภูมิใกล้ 0 องศาเซลเซียส การทดลองดังกล่าวพบว่าชิ้นงานทดสอบที่ผ่านการอบเป็นเนื้อเดียวมีค่าความแข็งลดลงและกระจายตัวสม่ำเสมอกว่าชิ้นงานที่ไม่ผ่านการอบเป็นเนื้อเดียว การศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับอิทธิพลของการอบอ่อน และอบเพิ่มความแข็งต่อค่าความแข็งเส้นลวดทองคำ 14 กะรัต ที่มีปริมาณลดพื้นที่หน้าตัด 88 เปอร์เซ็นต์ พบว่าชิ้นงานทดลองที่ผ่านการอบเป็นเนื้อเดียวและไม่ผ่านการอบเป็นเนื้อเดียว มีค่าความแข็งเพิ่มขึ้นหลังจากผ่านการอบเพิ่มความแข็งที่ทำให้เกิดการตกผลึกเป็นเฟสใหม่ อย่างไรก็ตามผลการอบเป็นเนื้อเดียว การอบอ่อน การอบเพิ่มความแข็ง แสดงความแตกต่างด้านค่าความแข็งไม่มากนัก (260 HV) เมื่อเปรียบเทียบกับชิ้นงานที่ไม่ผ่านการอบเป็นเนื้อเดียว (253 HV)-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectทองen_US
dc.subjectโลหะ -- วิธีทางความร้อนen_US
dc.subjectGolden_US
dc.subjectMetals -- Heat treatmenten_US
dc.titleการพัฒนาคุณสมบัติของเส้นลวดทองคำ 14 กะรัต โดยกรรมวิธีทางความร้อนen_US
dc.title.alternativeThe development on properties of 14 carat gold wire by heat treatmenten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมโลหการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorEkasit.N@Chula.ac.th-
dc.email.advisorChatchai.S@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Jarpikorn_su_front_p.pdfหน้าปก และบทคัดย่อ1.03 MBAdobe PDFView/Open
Jarpikorn_su_ch1_p.pdfบทที่ 1721.88 kBAdobe PDFView/Open
Jarpikorn_su_ch2_p.pdfบทที่ 21.86 MBAdobe PDFView/Open
Jarpikorn_su_ch3_p.pdfบทที่ 3990.32 kBAdobe PDFView/Open
Jarpikorn_su_ch4_p.pdfบทที่ 43.78 MBAdobe PDFView/Open
Jarpikorn_su_ch5_p.pdfบทที่ 5749.76 kBAdobe PDFView/Open
Jarpikorn_su_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก1.15 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.