Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71500
Title: | ประเภทของการให้ผลย้อนกลับในบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน แบบสถานการณ์จำลอง ที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาจิตเวชศาสตร์ ของนิสิตแพทย์ชั้นปีที่ 5 |
Other Titles: | Types of feedback in simulation computer-assisted instruction lesson upon psychiatry learning achievement of the fifth year medical students |
Authors: | อำนวยพร เตชไกรชนะ |
Advisors: | กิดานันท์ มลิทอง |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย |
Subjects: | คอมพิวเตอร์ช่วยการสอน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จิตเวชศาสตร์ Computer-assisted instruction Academic achievement Psychiatry |
Issue Date: | 2539 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | การวิจัยนี้มวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประเภทของการให้ผลย้อนกลับในบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบสถานการณ์จำลองที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาจิตเวชศาสตร์ของนิสิตแพทย์ชั้นปีที่ 5 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดลองครั้งนี้เป็นนิสิตแพทย์ชั้นปีที่ 5 จากคณะแพทย์ศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีการศึกษา 2538 จำนวน 40 คน สุ่มตัวอย่างแบบง่าย โดยแบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 20 คน ศึกษาจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบสถานการณ์ จำลองที่มีผลย้อนกลับ 2 แบบ คือ ผลย้อนกลับแบบธรรมชาติ และผลย้อนกลับแบบประดิษฐ์ นำคะแนนจากการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนของทั้งสองกลุ่มมาวิเคราะห์โดยใช้ค่า t-test ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างที่เรียนจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบสถานการณ์จำลอง ที่มีผลย้อนกลับแบบธรรมชาติและแบบประดิษฐ์ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไม่แตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญทาง สถิติ 0.05 |
Other Abstract: | The purpose of this research was to study types of feedback in simulation computer-assisted instruction lesson upon psychiatry learning achievement of the fifth year medical students. The subjects were 40 medical students of the Chulalongkorn University, Thammasat University and Srinakarin-wirot University. The subjects were simple random sampling devided into two groups, 20 subjects in each group. The subjects ha: studied the topic of psychiatry from simulation computer-assisted instruction; with natural feedback and artificial feedback. The learning pre-test and post-test scores of both groups were analyzed by mean of t-test. The result of the study indicated that there was no statistically significant difference. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539 |
Degree Name: | ครุศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | โสตทัศนศึกษา |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71500 |
ISBN: | 9746336568 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Aumnoyporn_ta_front_p.pdf | หน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ | 833.5 kB | Adobe PDF | View/Open |
Aumnoyporn_ta_ch1_p.pdf | บทที่ 1 | 898.84 kB | Adobe PDF | View/Open |
Aumnoyporn_ta_ch2_p.pdf | บทที่ 2 | 1.64 MB | Adobe PDF | View/Open |
Aumnoyporn_ta_ch3_p.pdf | บทที่ 3 | 786.24 kB | Adobe PDF | View/Open |
Aumnoyporn_ta_ch4_p.pdf | บทที่ 4 | 648.19 kB | Adobe PDF | View/Open |
Aumnoyporn_ta_ch5_p.pdf | บทที่ 5 | 767.04 kB | Adobe PDF | View/Open |
Aumnoyporn_ta_back_p.pdf | บรรณานุกรมและภาคผนวก | 10.39 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.