Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71646
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรวรรณ ปิลันธน์โอวาท-
dc.contributor.authorอรุณมาศ ธาระวานิช-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-12-18T09:29:55Z-
dc.date.available2020-12-18T09:29:55Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.isbn9746383558-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71646-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาถึงบทบาทและปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการผลิตรายการรวมทั้งความพึงพอใจของประชาชนผู้รับสารต่อรายการที่มีเนื้อหาส่งเสริมวิถีชีวิตและภูมิปัญญาชาวบ้านล้านนา ปีพ.ศ.2539-2540 จากจำนวนกลุ่มตัวอย่าง 400 คน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าสถิติร้อยละ ส่วนการทดสอบสมมุติฐานใช้ค่า ไคว์สแควร์ ผลการวิจัยสรุปว่า สถานีโทรทัศน์ช่อง 11 ลำปาง มีการนำเสนอรายการเพียง 3 รายการที่มีบทบาทในการส่งเสริมวัฒนธรรมท้องถิ่น โดยดำเนินการตามนโยบายของกรมประชาสัมพันธ์ ทั้งนี้มิได้มุ่งเน้นเรื่องวิถีชีวิต และภูมิปัญญาแต่ประการใด เนื่องจากมีปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงานคือ ปัจจัยภายในด้านการจัดการและการบริหารองค์กร ที่ต้องขึ้นอยู่กับกรมประชาสัมพันธ์ทำให้ขาดอิสระในการดำเนินงานเทคโนโลยีที่ล้าหลัง และความเป็นมืออาชีพที่ขาดแคลนบุคลากรที่ตรงกับสายงาน รวมทั้งปัจจัยภายนอกด้านแหล่งข้อมูล ข่าวสารทางภูมิปัญญาชาวบ้านที่ไม่มีการรวบรวมเป็นหลักฐานอ้างอิง และการเป็นสถานีของรัฐที่ไม่มีการแข่งขันทำให้ไม่ได้รับความสนใจจากภาคเอกชน จึงเป็นปัจจัยด้านอุปสรรคต่อการผลิตรายการเพื่อส่งเสริมวิถีชีวิต และภูมิปัญญาชาวบ้านล้านนา มีเพียงปัจจัยภายในด้านนโยบาย และปัจจัยภายนอกด้านงบประมาณที่ได้รับ จากสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ (สวช.) การควบคุมด้านกฎระเบียบของกรมประชาสัมพันธ์ที่ระบุ ให้เสนอรายการที่ส่งเสริมวัฒนธรรมท้องถิ่นเท่านั้น ที่ถือเป็นปัจจัยที่เอื้อประโยชน์ต่อการผลิตรายการส่งเสริมวิถี ชีวิตและภูมิปัญญาชาวบ้าน การทดสอบสมมติฐาน ความสัมพันธ์ของลักษณะทางประชากร เพศ อายุ การศึกษา รายได้ และพื้นที่ อยู่อาศัยของกลุ่มตัวอย่าง 400 คน ในเขตอ.เมือง จ.ลำปาง กับความพึงพอใจต่อการรับซมรายการที่มีเนื้อหาส่งเสริมวิถีชีวิตและภูมิปัญญาชาวบ้านล้านนา พบว่า 1. เขตพื้นที่อยู่อาศัย มีความสัมพันธ์กับเนื้อหาสาระ รูปแบบของรายการเพลงภาพประกอบ อย่างมีนัย สำคัญทางสถิติที่ .05 โดยในเขตเทศบาลมีความพึงพอใจมากกว่า ส่วนเทคนิคการผลิตรายการไม่มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 2. ไม่พบความสัมพันธ์ลักษณะทางประชากรด้านเพศ อายุ การศึกษา รายได้ กับเนื้อหาสาระ รูปแบบ เพลงภาพประกอบ และเทคนิคการผลิตรายการที่ส่งเสริมวิถีชีวิตและภูมิปัญญาชาวบ้านล้านนาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05-
dc.description.abstractalternativeThis research aims at studying the roles and factors affecting TV production and the viewers' satisfaction with the programs which support Lanna way of life and wisdom. The data were analyzed and presented as frequencies, percentages, and chisqure values. From the research, It can be inferred that three programs were broadcasted following the Public Relations Department’s policy and supporting Lanna way of life and wisdom. Both internal and external factors were the causes of the practice. According to the internal factors, Channel 11 was under Public Relations Department. This factor resulted เท the dependence เท administrating, old fashion technology, and shortage of professionals. For external factors, information about Lanna wisdom was not collected to be used as reference and being uncompetitive state TV prevented private sector from showing interest. Meanwhile, there were a few factors which supported the production promoting Lanna way of life and wisdom. Budget received from the Office of the National Culture Commission, and the Public Relations Department’s regulation stating that Channel 11 must produce the programs which promoted local culture. The hypotheses of people’s satisfaction with the programs supporting Lanna way of life and wisdom were tested with 400 people in Amphur Maung Lampang. The results are as followed: 1. People's residential area was statistically related to recipients’ satisfaction with the program content, form, and music at the significant level of.05. People who lives in municipality have more satisfaction than the ones who lives in out of skirt of municipality. The production technology was not significantly different at .05. 2. No significant difference at .05 was found between demographic variables: sex, age, education levels, income levels and content, form, music and production technique of the programs promoting Lanna way of life and wisdom.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectสถานีโทรทัศน์ช่อง 11en_US
dc.subjectการดำเนินชีวิตen_US
dc.subjectสื่อมวลชนen_US
dc.subjectการสื่อสาร -- แง่สังคมen_US
dc.subjectการสื่อสารกับวัฒนธรรมen_US
dc.subjectโทรทัศน์ -- การผลิตและการกำกับรายการen_US
dc.subjectConduct of lifeen_US
dc.subjectMass mediaen_US
dc.subjectCommunication -- Social aspectsen_US
dc.subjectCommunication and cultureen_US
dc.subjectTelevision -- Production and directionen_US
dc.subjectTelevision Channel 11en_US
dc.titleบทบาทสถานีโทรทัศน์ช่อง 11 ลำปางกับการส่งเสริมวิถีชีวิตและภูมิปัญญาชาวบ้านล้านนาen_US
dc.title.alternativeThe role of Television Channel 11 Lampang in promoting Lanna way of life and local wisdomen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิเทศศาสตรพัฒนาการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorOrawan.P@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Aroonmart_ta_front.pdfหน้าปกและบทคัดย่อ373.56 kBAdobe PDFView/Open
Aroonmart_ta_ch1.pdfบทที่ 1433.02 kBAdobe PDFView/Open
Aroonmart_ta_ch2.pdfบทที่ 21.05 MBAdobe PDFView/Open
Aroonmart_ta_ch3.pdfบทที่ 3323.95 kBAdobe PDFView/Open
Aroonmart_ta_ch4.pdfบทที่ 41.9 MBAdobe PDFView/Open
Aroonmart_ta_ch5.pdfบทที่ 5984.71 kBAdobe PDFView/Open
Aroonmart_ta_back.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก2.29 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.