Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73884
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิลปชัย สุวรรณธาดา-
dc.contributor.authorอนุรัต มีเพชร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-06-17T07:13:30Z-
dc.date.available2021-06-17T07:13:30Z-
dc.date.issued2534-
dc.identifier.isbn9745786128-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73884-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2534-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการฝึกการผ่อนคลายกล้ามเนื้อที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงของคลื่นสมองและความเร็วในการรับรู้ กลุ่มตัวอย่างประชากรที่ใช้ในการวิจัยเป็นนิสิตปริญญาตรีชั้นปีที่ 1 - 4 จากสาขาวิชาพลศึกษา ภาค วิชาพลศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกณ์มหาวิทยาลัย โดยอาสาสมัครเข้ารับการทดลอง จำนวน 20 คน แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ๆ ละ 10 คน โดยวิธีการจับคู่ แบบจับกลุ่ม โดยการทดสอบคลื่นสมองแอลฟาและเวลาปฏิกริยาตอบสนองแบบเลือก กลุ่มทดลองทำการฝึกการผ่อนคลายกล้ามเนื้อเป็นเวลา 8 สัปดาห์ ๆ ละ 5 วัน ๆ ละ 20 นาที ส่วนกลุ่มควบคุมนั้นไม่ได้รับการฝึก ขณะ ทำการทดลองผู้เข้ารับการทดลองได้รับการ ทดสอบคลื่นสมองแอลฟาและเวลาปฏิกิริยาตอบสนองแบบเลือก หลังการทดลองเป็นเวลา 4 สัปดาห์และ 8 สัปดาห์ แล้วนำผลที่ได้มาวิเคราะห์ตามวิธีสถิติโดยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานแล้วจึงทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยด้วยค่าที จากนั้นทดสอบความแปรปรวนชนิดวัดซ้ำเพื่อดูพัฒนาการและเปรียบ เทียบความแตกต่างเป็นรายค่า โดยใช้วิธีของนิวแมน-คูลส์ ผลการวิจัยพบว่า 1.ในกลุ่มทดลองที่ฝึกการผ่อนคลายกล้ามเนื้อ ค่าเฉลี่ยของคลื่นสมองแอลฟาสูงขึ้นและค่าเฉลี่ยของ เวลาปฏิกิริยาตอบสนองแบบเลือกเร็วขึ้น อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 ส่วนกลุ่มควบคุม ค่าเฉลี่ยของคลื่น สมองแอลฟาของการทดสอบสัปดาห์ที่ 4 และสัปดาห์ที่ 8 แตดต่างกัน แต่เวลาปฏิกิริยาตอบสนองแบบเลือกไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 2.ในการเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ก่อนการทดลองและหลังการทดลอง 4 สัปดาห์ ค่าเฉลี่ยของคลื่นสมองแอลฟาและเวลาปฏิกริยาตอบสนองแบบเลือกของทั้งสองกลุ่ม ไม่แตกต่าง กันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 แต่ภายหลังการทดลอง 8 สัปดาห์ ค่าเฉลี่ยของคลื่นสมองแอลฟาและเวลาปฏิกิริยาตอบสนองแบบเลือก ของกลุ่มทดลองสูงกว่าและเร็วกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัย สำคัญที่ระดับ .05-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to investigate the effects of muscle relaxation training on brain wave change and perception speed Subjects were 20 volunteered male and female students studying in the undergraduate program in the Physical Education Department, Faculty of Education, Chulalongkorn University. The subjects were divided into two groups by matching method, matched by measured alpha brain wave and choice reaction time after experimentation for four and eight weeks. The data were analyzed in term of means, standard diviation, t-test, repeated measure analysis of variance and Newman-Kuels method. The results indicated that : 1.In the experimental group which trained muscle relaxation, the average of alpha brain wave was higher and the average of choice reaction time was faster, significantly different at the .05 level. In the control group, the average of alpha brain wave tested at the fourth week and eighth week was significantly different, but the average of choice reaction time was not significantly different at the .05 level 2.In comparison between the experimental and the control groups, the average of alpha brain wave and choice reaction time tested at the pre-test and the fourth week of both groups were not significantly different at the .05 level. However, the average of alpha brain wave and choice reaction time of the experimental group, tested after the eighth week, were significantly higher and faster than those of the control group at the .05 level.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectกล้ามเนื้อ-
dc.subjectคลื่นสมอง-
dc.subjectMuscles-
dc.subjectElectroencephalography-
dc.titleผลการฝึกการผ่อนคลายกล้ามเนื้อที่มีต่อการเปลี่ยนแปลง ของคลื่นสมองและความเร็วในการรับรู้-
dc.title.alternativeEffects of muscle relaxation training on brain wave change and perception speed-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineพลศึกษา-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Anurat_me_front_p.pdf958.69 kBAdobe PDFView/Open
Anurat_me_ch1_p.pdf1.1 MBAdobe PDFView/Open
Anurat_me_ch2_p.pdf1.16 MBAdobe PDFView/Open
Anurat_me_ch3_p.pdf722.19 kBAdobe PDFView/Open
Anurat_me_ch4_p.pdf977.41 kBAdobe PDFView/Open
Anurat_me_ch5_p.pdf989.41 kBAdobe PDFView/Open
Anurat_me_back_p.pdf1.18 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.