Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24131
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธีระพร อุไรวรรณ
dc.contributor.authorวรรณี จิระชุติโรจน์
dc.contributor.otherงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2012-11-15T07:20:35Z
dc.date.available2012-11-15T07:20:35Z
dc.date.issued2527
dc.identifier.isbn9745639397
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24131
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทัศนคติ การคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง เจตนาเชิงพฤติกรรมและพฤติกรรมในการใช้บริการการปรึกษาของนักเรียนมัธยมศึกษา โดยนำทฤษฎีการกระทำด้วยเหตุผลของฟิชไบน์และไอเซน เป็นหลักในการสร้าง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสำรวจทัศนคติ การคล้อยตามอ้างอิง เจตนาเชิงพฤติกรรมในการใช้บริการการปรึกษากับอาจารย์แนะแนวในโรงเรียน ผลจากการนำแบบสำรวจไปทดลองใช้ พบว่าแบบสำรวจนี้มีค่าความเชื่อถือได้ตั้งแต่ .88 ถึง สำหรับกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยประกอบด้วยนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 และปีที่ 6 จากโรงเรียนในเขตกรุงเทพมหานคร สังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ รวม 11 โรงเรียนเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ ขนาดใหญ่ และขนาดกลาง จำนวนทั้งสิ้น 760 คน สถิติที่ใช้คือ ค่าสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ค่าสหสัมพันธ์แบบพอยท์ไบซีเรียล และค่าสหสัมพันธ์พหุคูณ โดยการวิเคราะห์ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ และใช้โปรแกรมสำเร็จรูป เอส พี เอส เอส ทั้งหมด ทั้งผู้วิจัยตั้งสมมติฐานในการวิจัยว่า 1. ทัศนคติต่อการใช้บริการการศึกษากับอาจารย์แนะแนวในโรงเรียน ประกอบกับการคล้อยตามกลุ่มอ้างอิงในการใช้บริการการปรึกษากับอาจารย์แนะแนวในโรงเรียน ประกอบกับการคล้อยตามกลุ่มอ้างอิงในการใช้บริการการปรึกษากับอาจารย์แนะแนวในโรงเรียน สามารถทำนายตัวแปรเกณฑ์ คือ เจตนาเชิงพฤติกรรมในการใช้บริการการปรึกษากับอาจารย์แนะแนวในโรงเรียนได้ 2. เจตนาเชิงพฤติกรรมในการใช้บริการการปรึกษากับอาจารย์แนะแนวในโรงเรียนกับพฤติกรรมในการใช้บริการการปรึกษากับอาจารย์แนะแนวในโรงเรียนมีความสัมพันธ์ ผลการวิจัยปรากฏว่าสนับสนุนสมมติฐานทั้ง 2 ข้อดังกล่าวอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ .001 ตามลำดับ และพบว่าองค์ประกอบทัศนคติต่อการใช้บริการการปรึกษากับอาจารย์แนะแนวในโรงเรียนมีบทบาทต่อเจตนาเชิงพฤติกรรมในการใช้บริการการปรึกษากับอาจารย์แนะแนวในโรงเรียนมากกว่าการคล้อยตามกลุ่มอ้างอิงในการใช้บริการการปรึกษากับอาจารย์แนะแนวในโรงเรียน (W₁=.32, W₂=.25)
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study attitudes, subjective norms, behavioral intentions and behaviors in using counseling services of Mathayomsuksa 3 and Mathayomsuksa 6 students. The questionnaire for the research was developed on the basis of the theory of reasoned action of Fishbein and Ajzen. The reliability of the questionnaire was .88 to .95. The subjects included 760 students of 11 schools, 4 special large - size schools, 4 large - size schools, and 3 medium = size schools The Pearson's correlation, the point - biserial correlation and the multiple correlation were utilized to test the following hypotheses : 1. Attitudes and subjective norms can predict behavioral intentions in using counseling services of Mathayom Saksa 3 and Mathayom Suksa 6 Students. 2. Behavioral intentions correlate with behaviors in using counseling services of Mathayom Suksa 3 and Mathayom Suksa 6 students. The research results supported these two hypotheses (p < .01, p < /001) and attitudes influenced behavioral intentions more than subjective norms (W₁=.32, W₂=.25).
dc.format.extent498120 bytes
dc.format.extent1422224 bytes
dc.format.extent633599 bytes
dc.format.extent616321 bytes
dc.format.extent429963 bytes
dc.format.extent326697 bytes
dc.format.extent902522 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการศึกษาทัศนคติ การคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง เจตนาเชิงพฤติกรรม และพฤติกรรมในการใช้บริการการปรึกษาของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3 และปีที่ 6 ในเขตกรุงเทพมหานครen
dc.title.alternativeA study of attitudes, subjective norms, behavioral intentions and behaviors in using counseling services of mathayom suksa 3 and mathayom suksa 6 students in the Bangkok metropolisen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineจิตวิทยาการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wannee_Ji_front.pdf486.45 kBAdobe PDFView/Open
Wannee_Ji_ch1.pdf1.39 MBAdobe PDFView/Open
Wannee_Ji_ch2.pdf618.75 kBAdobe PDFView/Open
Wannee_Ji_ch3.pdf601.88 kBAdobe PDFView/Open
Wannee_Ji_ch4.pdf419.89 kBAdobe PDFView/Open
Wannee_Ji_ch5.pdf319.04 kBAdobe PDFView/Open
Wannee_Ji_back.pdf881.37 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.