Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26428
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิบูลศรี วาสนสมสิทธิ์-
dc.contributor.authorสุภาพ บัวแย้ม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-11-27T09:06:46Z-
dc.date.available2012-11-27T09:06:46Z-
dc.date.issued2528-
dc.identifier.isbn9745647217-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26428-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2528en
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของการวิจัย 1.เพื่อศึกษาความต้องการการเสริมสมรรถภาพในการนิเทศประสบการณ์วิชาชีพของอาจารย์นิเทศก์กลุ่มวิทยาลัยครูนครหลวง และอาจารย์พี่เลี้ยงในด้านต่างๆ ต่อไปนี้ 1.1 ด้านวิชาการ 1.2 ด้านกลวิธีการนิเทศประสบการณ์วิชาชีพ 1.3 ด้านการบริหารงานฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 1.4 ด้านมนุษยสัมพันธ์ 2. เพื่อศึกษาวิธีการเสริมสมรรถภาพในการนิเทศประสบการณ์วิชาชีพที่อาจารย์นิเทศก์และอาจารย์พี่เลี้ยงต้องการ 3. เพื่อเปรียบเทียบความต้องการการเสริมสมรรถภาพในการนิเทศประสบการณ์วิชาชีพในแต่ละด้านดังกล่าวในข้อ 1 ระหว่างอาจารย์นิเทศก์และอาจารย์พี่เลี้ยง 4. เพื่อเปรียบเทียบความต้องการการเสริมสมรรถภาพในการนิเทศประสบการณ์วิชาชีพในแต่ละด้านในข้อ 1 ระหว่างอาจารย์นิเทศก์ที่มีประสบการณ์ในการนิเทศต่างกัน 5. เพื่อเปรียบเทียบความต้องการการเสริมสมรรถภาพในการนิเทศประสบการณ์วิชาชีพในแต่ละด้านในข้อ 1 ระหว่างอาจารย์พี่เลี้ยงที่มีประสบการณ์ในการนิเทศต่างกัน วิธีดำเนินการวิจัย ตัวอย่างประชากร คือ อาจารย์นิเทศก์จากกลุ่มวิทยาลัยครูนครหลวงที่ทำการนิเทศการฝึกประสบการณ์วิชาชีพภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2527 เป็นจำนวน 114 คน และอาจารย์พี่เลี้ยงของโรงเรียนมัธยมศึกษาที่รับนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพจากวิทยาลัยครู ซึ่งคัดเลือกโดยวิธีสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เป็นจำนวน 25% ของโรงเรียนทั้งหมดได้จำนวน 20 โรง และอาจารย์พี่เลี้ยงจำนวน 177 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามซึ่งประกอบด้วยแบบเลือกตอบแบบมาตราส่วนประเมินค่า และแบบปลายเปิด โดยผู้วิจัยได้สร้างด้วยตนเอง นำข้อมูลที่ได้รับมาวิเคราะห์หาค่าร้อยละ ค่ามัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และทดสอบความแตกต่างระหว่างกลุ่มด้วยวิธีของเชฟเฟ ผลของการวิจัย 1. อาจารย์นิเทศก์และอาจารย์พี่เลี้ยงมีความต้องการได้รับการเสริมสมรรถภาพในการนิเทศประสบการณ์วิชาชีพอยู่ในระดับมากทุกด้าน 2. อาจารย์นิเทศก์และอาจารย์พี่เลี้ยงมีความต้องการเกี่ยวกับวิธีการจัดเสริมสมรรถภาพอยู่ในระดับมากทุกข้อ 3. เมื่อเปรียบเทียบความต้องการการเสริมสมรรถภาพในการนิเทศประสบการณ์วิชาชีพแต่ละด้าน ระหว่างอาจารย์นิเทศก์และอาจารย์พี่เลี้ยง ปรากฏว่าอาจารย์นิเทศก์และอาจารย์พี่เลี้ยงมีความต้องการด้านวิชาการ ด้านกลวิธีการนิเทศ ประสบการณ์วิชาชีพ ด้านการบริหารงานฝึกประสบการณ์วิชาชีพไม่แตกต่างกันที่ระดับความมีนัยสำคัญ .05 ส่วนด้านมนุษยสัมพันธ์มีความต้องการแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 4. เมื่อเปรียบเทียบความต้องการการเสริมสมรรถภาพในการนิเทศประสบการณ์วิชาชีพแต่ละด้าน ระหว่างอาจารย์นิเทศก์ที่มีประสบการณ์ในการนิเทศต่างกัน 3 กลุ่ม ปรากฏว่าไม่แตกต่างกันที่ระดับความมีนัยสำคัญ .05 5. เมื่อเปรียบเทียบความต้องการการเสริมสมรรถภาพในการนิเทศ ประสบการณ์วิชาชีพแต่ละด้าน ระหว่างอาจารย์พี่เลี้ยงที่มีประสบการณ์ในการนิเทศต่างกัน 3 กลุ่ม ปรากฏว่าไม่แตกต่างกันที่ระดับความมีนัยสำคัญ .05-
dc.description.abstractalternativeวัตถุประสงค์ของการวิจัย 1.เพื่อศึกษาความต้องการการเสริมสมรรถภาพในการนิเทศประสบการณ์วิชาชีพของอาจารย์นิเทศก์กลุ่มวิทยาลัยครูนครหลวง และอาจารย์พี่เลี้ยงในด้านต่างๆ ต่อไปนี้ 1.1 ด้านวิชาการ 1.2 ด้านกลวิธีการนิเทศประสบการณ์วิชาชีพ 1.3 ด้านการบริหารงานฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 1.4 ด้านมนุษยสัมพันธ์ 2. เพื่อศึกษาวิธีการเสริมสมรรถภาพในการนิเทศประสบการณ์วิชาชีพที่อาจารย์นิเทศก์และอาจารย์พี่เลี้ยงต้องการ 3. เพื่อเปรียบเทียบความต้องการการเสริมสมรรถภาพในการนิเทศประสบการณ์วิชาชีพในแต่ละด้านดังกล่าวในข้อ 1 ระหว่างอาจารย์นิเทศก์และอาจารย์พี่เลี้ยง 4. เพื่อเปรียบเทียบความต้องการการเสริมสมรรถภาพในการนิเทศประสบการณ์วิชาชีพในแต่ละด้านในข้อ 1 ระหว่างอาจารย์นิเทศก์ที่มีประสบการณ์ในการนิเทศต่างกัน 5. เพื่อเปรียบเทียบความต้องการการเสริมสมรรถภาพในการนิเทศประสบการณ์วิชาชีพในแต่ละด้านในข้อ 1 ระหว่างอาจารย์พี่เลี้ยงที่มีประสบการณ์ในการนิเทศต่างกัน วิธีดำเนินการวิจัย ตัวอย่างประชากร คือ อาจารย์นิเทศก์จากกลุ่มวิทยาลัยครูนครหลวงที่ทำการนิเทศการฝึกประสบการณ์วิชาชีพภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2527 เป็นจำนวน 114 คน และอาจารย์พี่เลี้ยงของโรงเรียนมัธยมศึกษาที่รับนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพจากวิทยาลัยครู ซึ่งคัดเลือกโดยวิธีสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เป็นจำนวน 25% ของโรงเรียนทั้งหมดได้จำนวน 20 โรง และอาจารย์พี่เลี้ยงจำนวน 177 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามซึ่งประกอบด้วยแบบเลือกตอบแบบมาตราส่วนประเมินค่า และแบบปลายเปิด โดยผู้วิจัยได้สร้างด้วยตนเอง นำข้อมูลที่ได้รับมาวิเคราะห์หาค่าร้อยละ ค่ามัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และทดสอบความแตกต่างระหว่างกลุ่มด้วยวิธีของเชฟเฟ ผลของการวิจัย 1. อาจารย์นิเทศก์และอาจารย์พี่เลี้ยงมีความต้องการได้รับการเสริมสมรรถภาพในการนิเทศประสบการณ์วิชาชีพอยู่ในระดับมากทุกด้าน 2. อาจารย์นิเทศก์และอาจารย์พี่เลี้ยงมีความต้องการเกี่ยวกับวิธีการจัดเสริมสมรรถภาพอยู่ในระดับมากทุกข้อ 3. เมื่อเปรียบเทียบความต้องการการเสริมสมรรถภาพในการนิเทศประสบการณ์วิชาชีพแต่ละด้าน ระหว่างอาจารย์นิเทศก์และอาจารย์พี่เลี้ยง ปรากฏว่าอาจารย์นิเทศก์และอาจารย์พี่เลี้ยงมีความต้องการด้านวิชาการ ด้านกลวิธีการนิเทศ ประสบการณ์วิชาชีพ ด้านการบริหารงานฝึกประสบการณ์วิชาชีพไม่แตกต่างกันที่ระดับความมีนัยสำคัญ .05 ส่วนด้านมนุษยสัมพันธ์มีความต้องการแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 4. เมื่อเปรียบเทียบความต้องการการเสริมสมรรถภาพในการนิเทศประสบการณ์วิชาชีพแต่ละด้าน ระหว่างอาจารย์นิเทศก์ที่มีประสบการณ์ในการนิเทศต่างกัน 3 กลุ่ม ปรากฏว่าไม่แตกต่างกันที่ระดับความมีนัยสำคัญ .05 5. เมื่อเปรียบเทียบความต้องการการเสริมสมรรถภาพในการนิเทศ ประสบการณ์วิชาชีพแต่ละด้าน ระหว่างอาจารย์พี่เลี้ยงที่มีประสบการณ์ในการนิเทศต่างกัน 3 กลุ่ม ปรากฏว่าไม่แตกต่างกันที่ระดับความมีนัยสำคัญ .05-
dc.format.extent455657 bytes-
dc.format.extent446491 bytes-
dc.format.extent1665371 bytes-
dc.format.extent278492 bytes-
dc.format.extent683552 bytes-
dc.format.extent666262 bytes-
dc.format.extent813666 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleความต้องการการเสริมสมรรถภาพในการนิเทศประสบการณ์วิชาชีพ ของอาจารย์นิเทศก์กลุ่มวิทยาลัยครูนครหลวงและอาจารย์พี่เลี้ยงen
dc.title.alternativeNeeds for competency improvement in professional experience supervision of the metropolitan teachers colleges supervisors and cooperating teachersen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineมัธยมศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Suparp_Bu_front.pdf444.98 kBAdobe PDFView/Open
Suparp_Bu_ch1.pdf436.03 kBAdobe PDFView/Open
Suparp_Bu_ch2.pdf1.63 MBAdobe PDFView/Open
Suparp_Bu_ch3.pdf271.96 kBAdobe PDFView/Open
Suparp_Bu_ch4.pdf667.53 kBAdobe PDFView/Open
Suparp_Bu_ch5.pdf650.65 kBAdobe PDFView/Open
Suparp_Bu_back.pdf794.6 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.