Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56973
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรัตนา พุ่มไพศาล-
dc.contributor.advisorทวีวัฒน์ ปิตยานนท์-
dc.contributor.authorวิศิษฐ์ จงประเสริฐ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2018-02-06T15:24:15Z-
dc.date.available2018-02-06T15:24:15Z-
dc.date.issued2536-
dc.identifier.isbn9745826618-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56973-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2536en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยด้านสถานภาพส่วนตัว ภูมิหลังทางเศรษฐกิจด้านครอบครัวและสังคม ของนักศึกษาที่สัมพันธ์กับเหตุผลในการเข้าเรียนต่อ และไม่เรียนต่อระดับมัธยมศึกษาตอนต้น หลักสูตรการศึกษานอกโรงเรียน พ.ศ. 2530 วิธีเรียนทางไกล และเพื่อศึกษาตัวแปรที่เป็นเหตุสำคัญในการเข้าเรียนต่อและไม่เรียนต่อระดับมัธยมศึกษาตอนต้น วิธีเรียนทางไกล ตามความคิดเห็นของแต่ละกลุ่ม ผลการวิจัยพบว่า 1. ปัจจัยสถานภาพส่วนตัวของผู้เข้าเรียนต่อและไม่เรียนต่อที่สำคัญคือ ความต้องการเรียนต่อหลังจากจบออกจากระบบโรงเรียน หรือชั้นเทียบเท่าประถมศึกษาปีที่ 6 องค์ประกอบด้านเศรษฐกิจของผู้เข้าเรียนต่อและไม่เรียนต่อ คือ เงินรายได้ต่อเดือนของผู้เข้าเรียนต่อ และไม่ผู้ไม่เข้าเรียนต่อ องค์ประกอบด้านครอบครัวและสังคมของผู้เข้าเรียนต่อและไม่เรียนต่อ คือ การสนับสนุนของบิดามารดาให้เรียนต่อระดับมัธยมศึกษาตอนต้น วิธีเรียนแบบทางไกล และสภาพการเดินทาง 2. ปัจจัยด้านสถานภาพส่วนตัว ด้านเศรษฐกิจ ด้านครอบครัวและสังคม ของผู้เข้าเรียนต่อและไม่เรียนต่อ มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. เหตุผลในการเข้าเรียนต่อ ที่มีคะแนนเฉลี่ย [mean] สูงสุด ตามความคิดเห็นของกลุ่มที่เรียนต่อคือ ต้องการเพิ่มพูมความรู้ ส่วนเหตุผลในการไม่เข้าเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ย [mean] สูงสุด ตามความคิดเห็นของกลุ่มที่ไม่เรียนต่อ คือ ไม่มีเวลาในการมาพบกลุ่มหรือทบทวนบทเรียนen_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research were to study the factors related to furthering or not furthering education at the Lower Secondary Non-formal Education Curriculum B.E. 2530 by the distance learning method of primary education graduates in the central region in the aspects of demographic, economical background. Family and social status and to study the important reason for furthering and not furthering education according to the opinions of each group. The findings were as follows: 1. The important factors in the aspect of the personal background of the learners was the needs to further their studies after graduation from school systems or from Non-Formal Education equivalent to Prathom Suksa 6. The factor in the economic aspect of the learners were their wages per month. The factors in the aspect of the learners’ families and social were the parents’ supports of furthering education at the lower secondary education by distance learning and traveling condition. 2. The factors in the aspect of personal background, economical, family and social status of the learners were mostly significantly related at .05 level. 3. The reason for furthering education with the highest mean score according to the opinion of the students in the group that further their education was to increase their knowledge, and the reason for not furthering education for the those in the group that not furthering their education was having not enough time to join the group or to revise the lessons.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น -- การศึกษาต่อen_US
dc.subjectการศึกษาทางไกลen_US
dc.subjectJunior high school studentsen_US
dc.subjectDistance educationen_US
dc.titleการศึกษาองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับการเรียนต่อและไม่เรียนต่อ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น หลักสูตรการศึกษานอกโรงเรียน พ.ศ.2530 ด้วยวิธีเรียนทางไกลของผู้สำเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษา ในเขตภาคกลางen_US
dc.title.alternativeStudy of factors related to furthering or not furthering education at The Lower Secondary Non-Formal Education Curriculum B.E.2530 by the distance learning method of primary education graduates in the central regionen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการศึกษานอกระบบโรงเรียนen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorRatana.P@chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wisit_cho_front.pdf800.19 kBAdobe PDFView/Open
Wisit_cho_ch1.pdf1.15 MBAdobe PDFView/Open
Wisit_cho_ch2.pdf2.33 MBAdobe PDFView/Open
Wisit_cho_ch3.pdf743.28 kBAdobe PDFView/Open
Wisit_cho_ch4.pdf2.54 MBAdobe PDFView/Open
Wisit_cho_ch5.pdf1.32 MBAdobe PDFView/Open
Wisit_cho_back.pdf2.11 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.