Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65991
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทิพย์สิริ กาญจนวาสี-
dc.contributor.authorอาทิตย์ รุ่งเสรีชัย-
dc.date.accessioned2020-05-25T04:45:54Z-
dc.date.available2020-05-25T04:45:54Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9745322377-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65991-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความฉลาดทางอารมณ์และพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศและความสัมพันธ์ระหว่างความฉลาดทางอารมณ์กับพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กรุงเทพมหานคร ตามตัวแปรเพศ ความฉลาดทางอารมณ์ และพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ ผู้วิจัยใช้แบบสอบถามความฉลาดทางอารมณ์ของกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข และสร้างแบบสอบถามพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศส่งให้กลุ่มตัวอย่าง ซึ่งเป็นนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กรุงเทพมหานครจำนวน 450 คน ได้รับแบบสอบถามฉบับสมบูรณ์คืนมา 426 ฉบับคิดเป็นร้อยละ 94.6 นำข้อมูลที่ได้มาทำการ วิเคราะห์ข้อมูล โดยหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบค่าที และหาค่าความสัมพันธ์ (Correlation) กำหนดความมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีความฉลาดทางอารมณ์โดยรวมอยู่ในระดับตํ่ากว่าเกณฑ์ปกติ 2. นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศอยู่ในระดับตํ่า 3. นักเรียนชายกับนักเรียนหญิงมีความฉลาดทางอารมณ์ ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แต่นักเรียนชายกับนักเรียนหญิงมีพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยพบว่านักเรียนชายมีพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศมากกว่านักเรียนหญิง 4. ไม่มีความสัมพันธ์ ระหว่างความฉลาดทางอารมณ์และพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to investigate the emotional quotient and sexual risky behavior and relationship between emotional quotient and sexual risky behavior of Mathayomsuksa three students in schools under the Jurisdiction of the Office of the Basic Education Commission in Bangkok Metropolis. Emotional Quotient Questionnaires of Department of Mental Health. Ministry of Public Health, together with the constructed questionnaires were sent to 450 students in Mathayomsuksa three. Four hundred and twenty six. accounting for 94.6 percent .completed questionnaires were returned. The data were then analyzed in terms of percentages, means, standard deviations and correlation. The t-test was also applied to determine the significant differences at .05 level. The results were as follows: 1. The emotional quotients of Mathayomsuksa three students were (bund at low er than standard. 2. The sexual risky behavior of Mathayomsuksa three students were found at low level 3. There w ere no significant differences at .05 level in the emotional quotient but there were significant differences at .05 level in sexual risky behavior between male and female students in Mathayomsuksa three. Results also showed that males had higher sexual risky behavior than female students. 4. There was no relationship between the emotional quotients and sexual risky behavior among Mathayomsuksa three students-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2004.1031-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษา--ไทยen_US
dc.subjectความฉลาดทางอารมณ์--ไทยen_US
dc.subjectวัยรุ่น--พฤติกรรมทางเพศ--ไทยen_US
dc.subjectHigh school students--Thailanden_US
dc.subjectEmotional intelligence--Thailanden_US
dc.subjectAdolescence -- Sexual behavior--Thailanden_US
dc.titleความฉลาดทางอารมณ์และพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กรุงเทพมหานครen_US
dc.title.alternativeEmotional quotient and sexual risky behavior of mathayom suksa three students in schools under the jurisdiction of the office of the basic education commission in Bangkok metropolisen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineสุขศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2004.1031-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Atit_ru_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ923.82 kBAdobe PDFView/Open
Atit_ru_ch1_p.pdfบทที่ 1849.07 kBAdobe PDFView/Open
Atit_ru_ch2_p.pdfบทที่ 22.78 MBAdobe PDFView/Open
Atit_ru_ch3_p.pdfบทที่ 3852.16 kBAdobe PDFView/Open
Atit_ru_ch4_p.pdfบทที่ 41.55 MBAdobe PDFView/Open
Atit_ru_ch5_p.pdfบทที่ 51.39 MBAdobe PDFView/Open
Atit_ru_back_p.pdfรายการอ้างอิงและภาคผนวก1.39 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.